Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 6
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
การประเมินคุณภาพภายในควรยึดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นหลักควรสะท้อนภาพความสำเร็จที่ชัดเจนอยา่งน้อย 2 ด้าน
ด้านคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพงึประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน
ด้านคุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา
สถานศึกษาสามารถดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนดไว้แล้วในทุกมาตรฐาน ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการประเมิน
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ระดับสำนักงานพื้นที่การศึกษา
3.ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนำสถานศึกษา
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
2.จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาไปยังสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สมศ.
5.ให้ความร่วมมือกับ สมศ. ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
1.ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
6.มอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วม สังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
วิเคราะห์ และสรุปผล ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.เพื่อเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.กำหนดนโยบายด้านการศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษา
ให้ความร่วมมือกับ สมศ.ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสำนักงาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสถานศึกษา
2.การจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
3.สถานศึกษาให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
1.จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน (Internal Quality Assessment) เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง กระทำโดยบุคลากรในหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายใน
3) เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4) เพื่อนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
2) เพื่อนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจ วางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
1) เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสถานศึกษา
หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
2) การที่จะดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามข้อ 1) ต้องทำให้การประกันคุณภาพ ภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการ
3) การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
1) จุดมุ่งหมายของการประเมินคุณภาพภายใน คือ การที่สถานศึกษาร่วมกันพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาโดยเป้าหมายคือผู้เรียน
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจำนวน 3 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ จัดสภาพแวดล้อมและสังคมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารญาณ การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และ เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณลักษณะและค่านยิมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่งและหลากหลาย มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานการศกึษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ มีจำนวน 3 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ จัดสภาพแวดล้อมและสังคมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล ตามที่ระบุ ไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิและปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการเรียนรู้เชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธภิาพอยา่งต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการ ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ เข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพ หรือการดำเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย มีจำนวน 3 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีหลักสูตร ครอบคลุมพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน จัดครูให้เพียพอต่อชั้นเรียน ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสม ให้บริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ เปิดโอกาสให้ผู่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการริหาร
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
จัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้าน สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ประเมินเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินไปพัฒนาเด็ก
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก
มีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
แนวทางการประเมินคุณภาพภายใน
2. การประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แต่งตั้คณะกรรมการหรือ คณะทำงานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีเครื่องมือการประเมินตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพ นำผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาไปใช้และพัฒนา
3. การรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาสรุปผลการประเมินและเขียนรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำไปวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป
1. การปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยสถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่เกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพของสถานศึกษาที่พึงประสงค์ เป็นการส่งเสริม กำกับดูแล ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขั้นตอนและแนวทางการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นการดำเนินงาน
การวางแผนการปฏิบัตงิาน การดำเนินการตามแผน การตรวจสอบผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา การนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาปรับปรุง
ขั้นการจัดทำรายงานผลการประเมิน
จัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายใน พร้อมสรุปจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัด ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบ
ขั้นการเตรียมการ
การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกคน การแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ คณะทำงานด้านการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การสรุปและรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์ของการรายงาน
เพื่อให้สถานศึกษานำผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและให้ การสนับสนุนรวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาต่อไปอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษาได้ทราบถึงสภาพการดำ เนินงาน
สาระสำคัญที่ควรปรากฏในรายงาน
วิธีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สาระสำคัญของการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา