Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค
Immune system
ระบบที่คอยปกป้องร่างกายจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้ามาทำอันตรายร่างกายเรา
Innate immunity (ผิวหนัง, เยื่อบุหลอดลมมีเซลล์ที่มีขน (hairy cell), เซลล์ผลิตเสมหะ (goblet cell)
Adaptive immunity
B-lymphocyte
T-lymphocyte
Antigen
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายแล้วทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้าน
แบคทีเรีย
ไวรัส
เชื้อรา
สารเคมี
ฝุ่นละออง
เกสรดอกไม้
Antibody
เม็ดเลือดขาวสารพวกโปรตีนที่มีคุณสมบัติต่อต้านสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรค
การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
อาหาร
ออกกำลังกาย
ทำจิตใจให้เบิกบาน
ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity)
การตอบสนองของภูมิคุ้มกันต่อสารก่อภูมิแพ้ (Allergen) หรือ Antigen อย่างรุนแรง
เยื่อบุจมูกอักเสบ (Allergic rhinitis)
หอบหืด (Asthma)
ผิวหนังอักเสบ (Dermatitis)
กระบวนการเกิดภูมิไวเกิน
การถูกกระตุ้นด้วยสารที่ไปสัมผัส (Sensitization) เกิด IgE antibody
การแสดงอาการที่สัมพันธ์กับการได้รับสารก่อภูมิแพ้ (Allergen)
จาม (sneezing)
หอบ (asthma)
แอนาไฟแลกซิส (anaphylaxis)
ความผิดปกติจากการแพ้
แพ้อาหาร
โรคผิวหนังชนิดตุ่มแดงคัน
อาการคัน (Urticaria)
Allergic Rhinitis
Anaphylaxis
พยาธิสรีรวิทยาภาวะภูมิไวเกิน
การตอบสนองเฉียบพลันทันที หรือแบบแอนาไฟแลกซิส (Immediate Allergy or Anaphylaxis)
การตอบสองในระดับเซลล์ (Antibody dependence or Cytotoxic)
การตอบสนองในระบบภูมิคุ้มกันซับซ้อน (Immune complex)
การตอบสนองภายหลังในเซลล์ (Cell-mediated or delayed)
การวินิจฉัยภาวะภูมิไวเกิน
การทดสอบทางผิวหนัง (skin test)
Radioallergosorbent test (RAST)
Fluoroenzyme immunoassay test (Immuno CAP FEIA) ซึ่งเป็นการหาระดับ IgE ที่จำเพาะต่อสารก่อภูมิแพ้
Pulmonary function test เพื่อวินิจฉัยโรคหอบหืด
การตรวจเลือดหาระดับ IgE เลือด (blood essay)
การรักษาภาวะภูมิไวเกิน
หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้
พิสูจน์สารก่อภูมิแพ้ ประวัติการเป็นภูมิแพ้ ภูมิแพ้ในครอบครัว ระยะเวลาที่เป็นในรอบปี สิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย
การควบคุมสิ่งแวดล้อม
การรักษาด้วยยา Diphenhydramine
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน (Immune deficiency;AIDS)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เชื้อ Human Immunodeficiency Virus
การติดเชื้อที่ T-helper cell (T4 lymphocyte), Macrophage
CD4+T helper cell ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน มีจำนวนเฉลี่ยประมาณ 500-1,600 เซลล์/ลบ.มม. ถ้า CD4+T helper cell น้อยกว่า 200 เซลล์/ลบ.มม. ถือว่าเป็นระดับที่ต่ำเป็นอันตรายทำให้เกิดการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่าย
การติดต่อของโรคเอดส์
ทางเพศสัมพันธ์ ทางเลือด และการใช้เข้มฉีดยาร่วมกัน
สามารถตรวจพบในน้ำอสุจิ สารคัดหลั่งจากช่องคลอด น้ำนม และน้ำไขสันหลัง
ในกลุ่มชายรักร่วมเพศมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV มากกว่ากลุ่มอื่น
ผลกระทบโรคเอดส์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน
ผลกระทบโรคเอดส์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน T cell : CD4+ lymphocyte<500 เซลล์/uL สัดส่วน Helper : Suppressor ลดลง ทำให้ T cell ไม่สามารถกำจัดไวรัสหรือเชื้อตัวอื่นได้
B cell : เมื่อ CD4+ lymphocyte ลดลงก็ไม่พอที่จะกำจัด B cell ที่ติดเชื้ด Epstein-Barr virus ได้ ทำให้ B cell ลดลง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิด Lymphma ได้ง่าย
NK cell : ลดลง ทำให้การฆ่าเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสและเซลล์มะเร็งลดลงตามไปด้วย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่บ่งชี้ว่าการทำงานของภูมิคุ้มกันบกพร่อง
จำนวนเม็ดเลือดขาวทั้งหมดลดลง
จำนวนและร้อยละของ lymphocyte ลดลง
สัดส่วนของ CD4+/CD8+ เปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน (ปกติ 2.0 เหลือ 0.5)
การตรวจนับ CD4+T helper cell ลดลง (CD4+ < 500 เซลล์/uL)
ระดับ Ig เพิ่มขึ้น
การตรวจหาเชื้อ
การตรวจขั้นต้น (Screening Test): ELISA Test
การตรวจยืนยัน (Confirmatory Test)
WESTERN BLOT
POLYMERASE CHAIN REACTION (PCR)
Agglutination Test
พยาธิสภาพและอาการทางคลินิก
Acute HIV infection (2-3 สัปดาห์หลังรับเชื้อ ก่อนที่จะสร้าง Antibody มีอาการไข้ทั่วไป และหายไปเอง 2-3 สัปดาห์)
Persistent generalized lymphadenopathy Progression to AIDS Opportunistic Infection
(ต่อมน้ำเหลืองโตมากกว่า 2 ตำแหน่ง และโตนานกว่า 3 เดือน)
Opportunistic Infection (มีการติดเชื้อฉวยโอกาสในหลายอวัยวะได้แก่ ปอด ระบบประสาท ทางเดินอาการ ผิวหนัง)
Progression to AIDS (ตรวจพบ Viral antigen และ antibody ภายใน 6 เดือน อาจกินเวลาถึง 10 ปี โดยไม่มีอาการ จะมีอาการเมื่อ CD4+lymphocyte <500 เซลล์/uL)
การป้องกันเอดส์
การไม่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อเอดส์หรือป่วยเป็นเอดส์ หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีทุกครั้ง
การไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือของมีคมร่วมกับผู้อื่น ตลอดจนไม่ดื่มเหล้าและไม่ใช้สารเสพติด อันจะทำให้ขาดสติในการยับยั้งชั่งใจ
การตรวจเลือดและขอรับบริการปรึกษาเรื่องโรคเอดส์ก่อนแต่งงานและก่อนที่คิดจะมีบุตร
ภาวะภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง (Autoimmune; SLE, Rheumatoid arthritis)
สาเหตุ
auto-antibodies สัมพันธ์กับกรรมพันธุ์ ฮอร์โมนเพศหญิง แสงแดด ความเครียด ยาบางชนิด การติดเชื้อบางชนิด
ร่างกายสร้าง anti-DNA antibodies
เกิดขึ้นจาก B-Lymphocyte ถูกกระตุ้นจาก Antigen กลุ่มแบคทีเรีย ให้สร้าง Antibodies ที่หลากหลายชนิด
Immune complex ในกระแสเลือดยึดเกาะที่อวัยวะทั่วร่างกาย
อาการของโรค SLE
อาการทางผิวหนัง (Photosensitivity) ผื่นแดงที่หน้าบริเวณโหนกแก้มและจมูก (butterfly or malar rash) ผมร่วง
อาการทางข้อ ปวดข้อ ข้ออักเสบ ข้อบวมและปวด พบได้มากกว่า 90% (Polyarthralgias)
อาการทางไต พบได้มากกว่า 75%โดยเฉพาะ Glomerulonephritis
อาการทั่วไป ไข้ อ่อนเพลีย ปวดข้อปวดกล้ามเนื้อ
อาการทางหัวใจ เกิดการอักเสบของหัวใจทั้ง Pericarditis, Myocarditis, endocarditis
การวินิจฉัยโรค SLE
Antinuclear antibody
การตัดชิ้นเนื้อ biopsy ที่ผิวหนัง
การตรวจหา VDRL ให้ผลบวกหลอก
การตรวจ CBC อาจจะพบว่าซีด หรือเม็ดเลือดขาวต่ำ หรือเกร็ดเลือดต่ำ
ตรวจพบ LE cell ในเลือด
การจัดแบ่งอาการตามความรุนแรง
รุนแรงน้อย
อาการทั่วไปผื่นผิวหนังข้ออักเสบ
รุนแรงปานกลาง
กล้ามเนื้ออักเสบ
รุนแรงมาก
Seizure Acute psychosis CNS vasculitis
โรครูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)
สาเหตุ
ระบบภูมิคุ้มกันทำลายเยื่อหุ้มข้อ (Synovium) เป็นผลทำให้เกิดการอักเสบและบวม
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่สัมพันธ์กับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมร่วมกับการกระตุ้นจากการติดเชื้อประเภทต่างๆ เชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
อาการ
มีอาการปวดดำเนินอย่างช้า ๆ ค่อยเป็นค่อยไป
มักเริ่มที่ข้อมือข้อนิ้วมือ ข้อเท้า ข้อเข่า ข้อนิ้วเท้า ถัดมาคือข้อไหล่ ข้อศอก
ลักษณะจำเพาะคือเป็นทั้ง 2 ข้างพร้อม ๆ กัน หรือในเวลาไล่เลี่ยกัน ในที่สุดอาจเป็นหมดทุกข้อทั่วร่างกาย
บางรายจะมีเสียงแหบและเจ็บที่คอหอย เนื่องจากข้อต่อของกระดูกกล่องเสียงก็อักเสบด้วย
ตอนเช้าตื่นนอนขึ้นก็จะรู้สึกปวดร่างกาย ฝืดไปหมดทุกข้อ มีอาการเหนื่อยอ่อนและเมื่อยล้า
การวินิจฉัยโรค
ตรวจร่างกายโดยตรวจดูอาการบวม รอยแดง และความร้อน
ตรวจความไวของเส้นประสาทและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การตรวจเลือด ค่าการอักเสบ (Erythrocyte Sedimentation Rate inflammation: ESR)
ตรวจ เอกซเรย์ MRI Ultrasound เพื่อติดตามการดำเนินของโรค และความรุนแรงของโรค
การรักษา
ยังไม่มีการรักษาที่หายขาดได้ แต่ปัจจุบันมีความเป็นไปได้ที่จะบรรเทาโรคให้ดีขึ้น
ยาปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค (Disease Modifying Anti-rheumatic Drugs หรือ DMARDs)
ยาลดการอักเสบ (NSAIDs) ยากลุ่มสเตียรอยด์ และยากลุ่มสารชีวภาพ
การผ่าตัด หากการรักษาด้วยยาไม่ได้ผลในการป้องกันและชะลอการถูกทำลายของข้อ
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยากดภูมิคุ้มกัน
การใช้ยากดภูมิคุ้มกัน :cyclophosphamide
ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก
ไม่ตอบสนองต่อ steroid หรือ ลด steroid ไม่ได้
เกิดอาการข้างเคียงจากการใช้ steroid มาก
การรักษาโรค SLE
ยารักษามาลาเรีย (Chloroquine, HyhroChloroquine ใช้รักษาอาการเพลีย ปวดข้อ ผื่น และปอดอักเสบจาก SLE ผลข้างเคียงอาจทำให้เกิดความผิดปกติที่จอรับภาพ (Retina) การมองเห็นผิดปกติไป
Nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDS) ยาลดการอักเสบ เช่น Iprobrufen, Naproxan, Acroxia