Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) :!!:, นางสาวปทุมมาศ สวนสุจริต เลขที่ 45 ห้อง2B…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) :!!:
คือ การที่คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอ และไม่ได้คุมกำเนิดมา 1 ปี หรือ 6เดือน ในกรณีคู่สมรสฝ่ายหญิงมีอายุ 35 ปีขึ้นไป
ภาวะมีบุตรยากปฐมภูมิ (Primary infertility) คือ การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากพยายามแล้วมากกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากทุติยภูมิ (Secondary infertility) คือ ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน ไม่ว่าจะสิ้นสุดด้วยการแท้งหรือคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นเวลามากกว่า 12 เดือน
สาเหตุ :question:
สาเหตุจากฝ่ายหญิง
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ 40%
ท่อนำไข่ 30%
Endometriosis 20%
Immunological 5%
Other 5%
สาเหตุจากฝ่ายชาย
Sperm dysfunction 80%
Sexual factors 10%
Other 10%
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี มีบุตรได้สูง
อายุฝ่ายชาย >55ปีขึ้นไป ความผิดปกติของอสุจิจะมากขึ้น
ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์ ความถี่ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่จะแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก :check:
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การซักประวัติ เช่น ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การแต่งงานและการมีบุตร สารเคมี การคุมกำเนิด
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex ,โรคทางอายุรกรรม
การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
PV ,Wet smear ,Culture
คอมดลูก
PV ,ดูลักษณะทางกายวิภาค ,ตรวจมูกคอมดลูก
ตัวมดลูก
PV ,Hysterosalpingogram ,Endometrium biopsy ,Hysteroscopy ,U/S
ท่อนำไข่
CO2 insufflation หรือ Rubin test ,Hysterosalpingogram ,Laparoscope
รังไข่
BBT ,CX mocous ,Endometrium biopsy ,Serum progesterrone
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน
Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT(postcoital test)
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือทั่วๆไป ,การตรวจฮอร์โมนฯ
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
ตรวจระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือด เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนประจำเดือนมา
มากกว่า 5 u/dl = มีการตกไข่
มากกว่า 10u/dl = มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติ
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจได้แก่ 1-2 วันก่อนตกไข่
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ :pencil2:
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่น โรคคางทูม โรคเบาหวาน ลักษณะนิสัยบางประการ (การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์)
รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
การได้รับยา สารเคมี รังสี
ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุ และการผ่าตัด
การตรวจร่างกาย :silhouettes:
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธุ์
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ
ลักษณะรูป่างอัณฑะ
หลอดเลือดคอดในถุงอัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :warning:
การตรวจเลือดทั้่วๆไป
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
ภาวะมีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ :!?:
คือ คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากครบมาตรฐานแล้ว
การรักษาการมีบุตรยาก :<3:
การรักษาแบบขั้นต้น
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธุ์
การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง
Intra-uterine insemination (IUI)
การนำอสุจิที่คัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะไข่ตก แพทย์จะใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบ เพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์
วิธีนี้ไม่เหมาะกับ :!!:
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบหรือตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย หรือมีปัญหาอื่นๆ
วิทยาการช่วยเหลือการมีบุตร assiated reproductive technologies (ART)
การกระตุ้นการตกไข่
ให้GnRH เป็นระยะ กระตุ้นการผลิต FSH และLH หรือให้ยา ไปกีดกันการทำงานของอีสโทรเจน ไม่ให้ไปยับยั้งการทำงานของGnRH ทำให้FSH และLH ถูกผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก มีผลทำให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบ และจะนำไข่ที่แข็งแรงมาปฏิสนธินอกร่างกายด้วยวิธีต่างๆ เช่น
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ Assisted Reproductive Technology (ART)
GIFT (Gamete Intrafallopian Transfer)
คือ การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังจากกระตุ้นไข่แล้วนำไข่มารวมกับอสุจิที่คัดแยกแล้ว และนำไปฉีดเข้าท่อนำไข่ทันที
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer)
คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว แต่ไข่ที่นำมาผสมกับอสุจิแล้วจะเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิจะใส่ตัวอ่อนกลับสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้แง ใส่ไปในท่อนำไข่
IVF (In Vitro Fertilization)
คล้ายกับการทำGIFTแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่เตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพ่อให้เซลล์แบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนระยะ 4-8 เซลล์ ใช้เวลาประมาณ 2-5 วัน จากนั้นนำตัวอ่อนใส่ไปในโพรงมดลูก
การเก็บไข่
แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่ดดยตรง หรือผ่านหน้าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม
โดยการหลั่งภายนอก เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น
Micromanipulation
วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว วิธีที่นิยมใช้คือ
อิ๊กซี่ (Intracytoplasmic Sperm Injection : ICSI)
คือการฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์โดยตรง หลังจากเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อน
:red_flag:เหมาะกับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ :red_flag:
เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรง
ข้อบ่งชี้ของการทำICSI :check:
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิรูปร่างผิดปกติ
คู่สมรสผ่านการทำปฏิสนธินอกร่างกายแล้ว แต่อสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
Retrograde ejeculation
Immunological factor
ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ได้แม้ในรายที่มรปริมาณอสุจิน้อยกว่า 100 ตัว
:warning:ดังนั้นICSI จึงเหมาะกับผู้ที่มีปัญหาจำนวนอสุจิน้อยมาก หรืออสุจิมีโครงสร้างผิดปกติมาก :warning:
ข้อบ่งชี้ :check:
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกรานซึ่งขัดขวางการเดินทางของไข่เข้าสู่โพรงมดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ความผิดปกติของปากมดลูก
สาเหตุจากฝ่ายชาย
ภาวะมีบุตรยาากที่ไม่ทราบสาเหตุ
นางสาวปทุมมาศ สวนสุจริต เลขที่ 45 ห้อง2B รหัสนักศึกษา 613601153