Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์, การประเมินความรุนแรงของภาวะครรภ์เป็นพิษ…
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัยภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์
Systolic BP ≥ 140 และ/หรือ Diastolic BP ≥ 90 mmHg คงที่นานกว่า 6 ชั่วโมง
Systolic BP สูงกว่า baseline 30 mmHg หรือ Diastolic BP สูงกว่า baseline 15 mmHg ในหญิงตั้งครรภ์ที่มี โรคความดันโลหิตสูงอยู่ก่อนตั้งครรภ์
ค่า mean arterial pressure (MAP) > 105 mmHg โดยวัดอย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน 6 ชั่วโมง
MAP = (BPs + (2BPd) )/3 หรือ
MAP = BPd + (1/3 pulse pressure)
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (pregnancy induced hypertension: PIH)
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/preexisting hypertension)
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (gestational hypertension) / transient hypertension
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (Pre-eclampsia superimposed on Chronic hypertension)
พยาธิสภาพผลกระทบต่ออวัยวะในร่างกาย
ระบบประสาท
เนื้อเยื่อในสมองบวม มีเลือดออก และเกิดเนื้อตายขึ้นในสมอง
มีอาการปวดศีรษะ เห็นภาพเบลอ ภาพซ้อน หรืออาจมองไม่เห็น เกิดปฏิกิริยาสะท้อนที่เร็วเกินไป (hyperreflexia) มีอาการกระตุกสั่นของกล้ามเนื้อ (clonus) ระดับความรู้สึกเปลี่ยนแปลง
มักพบว่ามีอาการชักเมื่อเกิดพยาธิสภาพที่สมอง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการเพิ่มของเลือดที่ออกจากหัวใจอย่างมากในระยะต้นๆของการดาเนินโรค
การมีภาวะเส้นเลือดบีบรัดตัวและเกิดภาวะความดันโลหิตสูงขึ้น จะส่งผลให้ preload ลดลง และ afterload เพิ่มขึ้น >>> เส้นเลือดหดรัดตัวทั่วร่างกาย
การเกิดภาวะ low preload และ high afterload >>> การทางานของหัวใจล้มเหลว (cardiac decompensation) และการกาซาบของเนื้อเยื่อในสมองและไตลดลง
ระบบปัสสาวะ
พบโปรตีนในปัสสาวะ ปัสสาวะเป็นเลือด
creatinine และ uric acid เพิ่มขึ้น
ระบบโลหิตวิทยา
เม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดถูกทาลายมากขึ้น >>> ปริมาณเม็ดเลือดแดงแตกและเกล็ดเลือดลดน้อยลง
ภาวะ HELLP จะมีอาการคล้ายผู้ป่วยตับอักเสบ
HELLP syndrome
ระบบการทำงานของปอด
มีการลดลงของ plasma oncotic pressure และการเพิ่ม permeability ในเส้นเลือดชั้น endothelial จึงทาให้มีน้าเข้าสู่ pulmonary interstitial space ได้>>>ปอดปวม
ตับ
เจ็บชายโครงขวาใต้ลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียน
เลือดออกในตับ capsule ตับแตก
กล้ามเนื้อมดลูกและรก
จากการถูกทำลายของ endothelial cell >>> เส้นเลือดในแนวเฉียงของมดลูก (spiral arteries) มีการเปลี่ยนแปลง >>> เส้นเลือดแคบลงและเหยียดออกจาก intervillous space ซึ่งเป็นส่วนที่รกสัมผัสกับกล้ามเนื้อ >>> มีเส้นเลือดไปเลี้ยงบริเวณรกน้อยกว่าปกติ >>> ทารกได้รับเลือดจากมารดาน้อยลง >>> IUGR
การจำแนกความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
Mild pre-eclampsia
แนะนาอาการผิดปกติที่ต้องรีบพบแพทย์
นอนพัก
วัด BP ทุก 4 hr
จัดอาหารจำกัดเกลือน้อยกว่า 6gm/วัน
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
จำกัดกิจกรรม
สังเกต+นับลูกดิ้น
ชั่งน้าหนัก
ตรวจ urine protein
Severe pre-eclampsia
Absolute bed rest, ลดการกระตุ้นชัก สิ่งแวดล้อมสงบ ลดแสง เสียง
นอนตะแคงซ้าย
ประเมิน reflex
จัดอาหารจากัดเกลือน้อยกว่า 6gm/วัน เพิ่มโปรตีน
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
สังเกตอาการผิดปกติ
วัด BP ทุก 1 hr
ดูแลให้ยาป้องกันชัก
ดูแลให้ยาลดความดัน
Admit ป้องกันชัก
การประเมินความรุนแรงของภาวะครรภ์เป็นพิษ severe features
1.Systolic BP ≥ 160 mmHg หรือ Diastolic BP ≥ 110 mmHg (วัดห่างกัน 4 ชั่วโมง)
Thrombocytopenia: เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
5.Pulmonary edema
6.อาการทางสมองหรือทางตาที่เกิดใหม่ (new-onset)
4.Progressive renal insufficiency: ค่า serum creatinine มากกว่า 1.1 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของ serum creatinine เดิม
3.Impaired liver function: ค่า liver transaminase เพิ่มเป็น 2 เท่าของค่าปกติ หรือ มีอาการปวดบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือใต้ลิ้นปี่อย่างรุนแรง และอาการปวดไม่หายไป (severe persistence) ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา และไม่ใช่เกิดจากการวินิจฉัยอื่น หรือทั้ง 2 กรณี
การรักษา severe pre-eclampsia
1) การป้องกันการชัก โดยให้ 10% MgSO4 4 gm iv loading ช้าๆ
2) ควบคุมความดันโลหิต
3) ยุติการตั้งครรภ์ ทบทวน Lab เพื่อเตรียมพร้อมการคลอด
นางสาว ทิวาภรณ์ นวลบริบูรณ์ รห้ส 603901019