Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่…
โครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21
(1) ทำความเข้าใจการประเมิน "PISA"
ประเมิน : ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
วิทยาการคำนวณ (Computing Science)
(2) การวิเคราะห์ตัวชี้วัดการเรียนรู้และสมรรถนะ PISA
ต้องรู้และเข้าใจ
[1] สาระที่ 4 "เทคโนโลยี" ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
สาระที่ 4 "เทคโนโลยี" เป็นหนึ่งในสาระของตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 โดยประกอบด้วย มาตรฐาน ว 4.1 (วิชา ออกแบบเทคโนโลยี) และ มาตรฐาน ว 4.2 (วิชา วิทยาการคำนวณ)
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
[2] วิเคราะห์ "ตัวชี้วัด" และ "สาระแกนกลาง" จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตัวอย่างการวิเคราะห์สาระแกนกลาง มาตรฐาน ว 4.1
ตัวชี้วัด
วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
• เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานความรู้ที่นำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยีที่ได้สามารถเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่
ตัวอย่างการวิเคราะห์สาระแกนกลาง มาตรฐาน ว 4.2
ตัวชี้วัด
พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน
• Internet of Things (IoT)
• ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน เช่นScratch, python, java, c, AppInventor
• ตัวอย่างแอปพลิเคชัน เช่น โปรแกรมแปลงสกุลเงิน โปรแกรมผันเสียงวรรณยุกต์ โปรแกรมจำลองการแบ่งเซลล์ ระบบรดน้ำอัตโนมัติ
[4] กิจกรรมวิเคราะห์ "สมรรถนะตามแนว PISA" (ใบงานที่ 2.1)
สมรรถนะตามแนว PISA ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
สมรรถนะตามแนว PISA ในรายวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
(ที่ใช้ทำกิจกรรม)
พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการ บูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์
รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม
คุณครูตอบกลับกิจกรรม 2.1 รุ่นที่ 2
กนกวรรณ กิตติก้อง
โรงเรียนบึงไทรพิทยาคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1) พัฒนาแอฟพลิเคชันจนแล้วเสร็จ สามารถใช้งานได้จริง
(2) นำเสนอข้อมูลตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการทางอินเทอร์เนตอื่นๆ
(3) ใช้งานข้อมูลจากสื่อ และข่าวสารต่างๆ ได้อย่างรู้เท่าทัน
(4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง
สายบัว พิมพ์มหา
โรงเรียน ขอนแก่นวิทยายน 3 สพม.25
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1) กระบวนการพัฒนาแอปพลิเคชันอย่างสร้างสรรค์
(2) รวบรวม ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอสารสนเทศ ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์ รู้เท่าทันสื่อ
(4) การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1) ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน
(2) ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ประมวลผลข้อมูลเป็นสารสนเทศ เพื่อใช่ในการแก้ปัญหาตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ตีความและประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพื่อรู้เท่าทันสื่อ
(4) ใช้การการแก้ปัญหาและการประเมินผลผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์มาใช้เพื่อเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี
อรดี จอมบุตร
โรงเรียนบึงไทรพิทยาคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูล
(3)การประเมินข้อมูล
(4)การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)ใช้คณิตศาสตร์มาพัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)การรวบรวมข้อมูล
(3)การตีความทางคณิตศาสตร์
(4)การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยโดยชอบธรรม
ธีรศักดิ์ ศรีประเสริฐ
โรงเรียน โนนศิลาวิทยาคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)กระบวนการพัฒนาแอปพลิเคชันจนกลายเป็นแอปพลิเคชันที่สมบูรณ์
(2)รวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีและสามารถนำเสนอผลลัพธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(3)รู้เท่าทันข่าวลวงโดยประเมินความน่าเชื่อถือจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
(4)เป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)ใช้คณิตศาสตร์สูตร ฟังก์ชัน ต่าง ๆ มาเป็นขั้นตอนวิธีในการพัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)จัดกระทำกับข้อมูลที่ได้ เก็บรวบรวมมาได้ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อทำให้เป็นสารสนเทศได้
(3)นำจำนวนผู้เข้าชมแหล่งข้อมูลมาประกอบการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์
(4) ตีความและให้เหตุผล เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
จารุวัฒน์ บ่อดินดำ
โรงเรียน ภูเวียงวิทยาคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)สามารถพัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)สามารถเก็บรวมรวมข้อมูลสามารถนำเสนอข้อมูล
(3) สามารถประเมินข้อเท็จจริงของข้อมูลและสื่อได้
(4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
จันทิมา บุญเทพ
โรงเรียนบ้านปากปวน
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอบพลิเคชั่น
(2)การรวบรวมข้อมูล
(3)การวิเคราะห์ข้อเท็จจริง
(4)การใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้อง
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชั่น
(2)การรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การนำเสนอข้อมูล (3)การหาข้อเท็จจริง
(4)การใช้เทคโนโลยี
วรวิทย์ สีทาสังข์ โรงเรียน บ้านโคกงาม
อนุวัฒน์ ยศทสาร
โรงเรียนบ้านสวนมอนไคร่นุ่นวังหิน [ขอนแก่น]
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอปพลิเคชันสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามสมรรถนะย่อยในลักษณะของการจัดกระทำข้อมูล เช่น การวิเคราะห์ผลการทดลอง การประมวลผลข้อมูล การตรวจสอบความเป็นไปได้ เช่น ซิมมูเลชั่น และการนำเสนอข้อมูลเพื่ออธิบายปรากฎการณ์ฯ ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เป็นต้น
(2)ตัวชี้วัดนี้จะสอดคล้องกับสมรรถนะย่อยที่ 2 เป็นหลัก และสามารถนำไปประยุกต์กับสมรรถนะย่อยที่ 1 เช่น การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศน์ในการอธิบายปรากฏการณ์ฯ ซึ่งนำไปสู่การเสนอสมมติฐานเพื่อการอธิบายปรากฎการณ์ฯ และสมรรถนะย่อยที่ 3 เช่น การแปลงข้อมูลสารสนเทศ การงิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล การระบุประจักษ์พยานในการประเมินข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องอาศัยซอฟแวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ต เช่น แหล่งค้นคว้างานวิจัย บทความวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
(3)การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลจะต้องเกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถระบุประเด็นปัญหา สามารถแยกแยะได้ว่าจากประเด็นปัญหาแบบนี้จะต้องใช้ข้อมูลในลักษณะใด ซึ่งจะนำไปสู่การประเมินวิธีการที่ได้มาซึ่งข้อมูล ว่าวิธีการดังกล่าว ข้อมูลดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ รวมไปถึงการความเข้าใจในการใช้วิธีการต่าง ๆ ในการยืนยันข้อมูลของนักวิทยาศาสตร์นอกจากนี้ผู้เรียนยังต้องสามารถแยกแยะและประเมินข้อโต้แย้งที่มีความน่าเชื่อถือโดยใช้ประจักษ์พยานและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ กับข้อกล่าวอ้างที่มาจากแหล่งที่หลากหลาย
(4)การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยสอดคล้องกับการที่ผู้เรียนสามารถประเมินข้อโตแย่งทางวิทยาศาสตร์ กล่าวคือ สามารถแยกแยะความน่าเชื่อถือ ความสมเหตุสมผล ของข้อมูลที่ได้รับ นอกจากนี้ยังมีการนำความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้เพื่อสังคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอปพลิเคชั่นสอดคล้องกับสมรรถนะย่อยที่ 1 คือ พัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์ การประมวลผล การสร้างแบบจำลอง การแปลงรูปแบบภาษาทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งการแสดงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ สอดคล้องกับสมรรถนะย่อยที่ 2 คือ การพัฒนาเครื่องมือในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหา การวิเคราะห์และประมวลผล รวมทั้งการนำเสนอขอ้มูลต่าง ๆ
(2)การรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การประเมินผล การนำเสนอขอ้มูล สอดคล้องกับสมรรถนะย่อนที่ 2 และสอดคล้องกับ สมรรถนะย่อยที่ 3 คือ การตีความข้อมูลและการประเมินผล
(3)ประเมินผลความน่าเชื่อถือของข้อมูล ข้อโต้แย้ง รวมไปถึงการตีความข้อมูล
(4)การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย สอดคล้องกับประเมินผลความน่าเชื่อถือของข้อมูล ข้อโต้แย้ง รวมไปถึงการตีความข้อมูล และความเข้าใจในบริบทชีวิตจริง (การนำไปใช้) ที่มีความเหมาะสม
ชวัลนุช พรมภักดิ์ โรงเรียนเชียงคาน
เตชสิทธิ์ คล่องชัยนันต์ โรงเรียน พลพัฒนศึกษา
จันทร์ทา ขานเกตุ โรงเรียนซำยางวิทยายน
พัชราภรณ์ โรงเรียน กัลยาณวัตร
พิเชษฐ์ พรหมอิ่ม โรงเรียน บ้านเมืองคง
สายสุวรรณ คำศรีแก้ว โรงเรียน แวงน้อยศึกษา
คุณครูตอบกลับกิจกรรม 2.1 รุ่นที่ 3
วรัฏฐา โรงเรียนอ่างทองวิทย์
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูลประมวลผลประเมินผลนำเสนอข้อมูล
(3)วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด
(4)รับผิดชอบต่อสังคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูลประมวลผลประเมินผลนำเสนอข้อมูล
(3)ประเมินความน่าเชื่อถือวิเคราะห์สื่อผลกระทบจากข่าวสาร
(4)รับผิดชอบต่อสังคม
ไพโรจน์
รร.โคกงามวิทยาคาร
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอพลิเคชัน
(2)การนำเสนอข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์และเทคโนโลยีที่หลากหลาย
(3)วิเคราะห์ เลือกใช้ข้อมูลอย่างรู้เท่าทัน
(4)ใช้ข้อมูล/สารสนเทศ ที่รับผิดชอบต่อสังคมและปฏิบัติตามกฎหมาย
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)การรวบรวมข้อมูลและอ้างอิงที่หลากหลาย
(3)สังเกตการณ์สืบค้นข้อมูล ข่าวสารที่น่าเชื่อถือและรู้เท่าทัน
(4)การสังเกต เลือกใช้ข้อมูลที่ถูกกฎหมาย
ลลิตา รร.ฝายหินหนองทุ่มหนองทองศึกษา
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)การสร้างเว็บเพื่อนำเสนอข้อมูล
(3)ไม่แชร์ข่าวสารที่เป็นเท็จ ก่อนแชร์ข้อมูลควรรู้แหล่งที่มาและต้องเชื่อถือได้
(4)มีมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต ปฏิบัติตามกฎการใช้อินเทอร์เน็ต ไม่ผิดพ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เมื่อมีการใช้ข้อมูลผู้อื่นควรอ้างอิงทุกครั้ง
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอปพลิเคชั่น
(2)การสืบค้นข้อมูลเพื่อนำมารวบรวมแล้วสรุปทำรายงาน
(3)ดูแหล่งที่มาของ ข้อมูลว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด ไม่แชร์ข้อมูลต่อถ้าไม่มีหลักฐานอ้างอิง
(4)มีมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต ปฏิบัติตามกฎการใช้อินเทอร์เน็ต ไม่ผิดพ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เมื่อมีการใช้ข้อมูลผู้อื่นควรอ้างอิงทุกครั้ง
สุรสีห์ บุญศาสตร์
โรงเรียนเอราวัณวิทยาคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาโปรแกรมหรือแอปพลิเคชั่น
(2)ออกแบบสอบถาม ออนไลน์
(3)ใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตอย่างถูกต้องเหมาะสม
(4)ใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตระบบคอมพิวเตอร์ อย่างมีจิตสำนึก และมีการอ้างอิงข้อมูล
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอปพลิเคชั่นหรือโปรแกรมทาคอมพิวเตอร์
(2)การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
(3)ใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตอย่างถูกต้องเหมาะสม
(4)ใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตระบบคอมพิวเตอร์ อย่างมีจิตสำนึก และมีการอ้างอิงข้อมูล
สำรวย อำมาตหิน
โรงเรียนบ้านหนองหญ้าแพรกท่าแร่
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)การประเมินการโต้แย้งข้อมูล
(3)วิเคราะห์ที่มาของข้อมูล
(4)ทำความเข้าใจกฏหมายและลิขสิทธิ์
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)การประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอ
(3)ความน่าเชื่อถือ
(4)กฎหมายลิขสิทธิ์
ลดามาศ ฮามพิทักษ์
โรงเรียนบ้านหนองแดง
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)แอพพลิเคชั่น
(2)การประเมินโต้แย้งข้อมูล
(3)วิเคราะห์ที่มาของข้อมูล
(4)ทำความเข้าใจกฎหมายและลิขสิทธิ์
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอพพลิเคชั่น
(2)การประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอ
(3)ความน่าเชื่อถือของข้อมูลและที่มา
(4)กฎหมายลิขสิทธิ์
พจน์ ชมภูวิเศษ
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)แอพพลิเคชั่น
(2)การประเมินโต้แย้งข้อมูล
(3)วิเคราะห์ที่มาของข้อมูล
(4)ทำความเข้าใจกฏหมายและลิขสิทธิ์
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)การพัฒนาแอพพลิเคชั่น
(2)การประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอ
(3)ความน่าเชื่อถือของข้อมูลและที่มา
(4)กฏหมายลิขสิทธิ์
ปฐพี รร_มัธยมตลาดใหญ่
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูลประมวลผลประเมินผลนำเสนอข้อมูล
(3)ประเมินความน่าเชื่อถือ
(4)รับผิดชอบต่อสังคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูลประมวลผลประเมินผลนำเสนอข้อมูล
(3)ประเมินความน่าเชื่อถือวิเคราะห์สื่อผลกระทบจากข่าวสาร
(4)รับผิดชอบต่อสังคม
อนุชา แสนราช โรงเรียนบ้านโคกใหญ่
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูล การประมวลผล นำเสนอข้อมูล
(3)ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบ
(4)ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
วัชรินทร์ อาจสมบาล รร.บ้านโคกงาม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
(3)วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด
(4)รับผิดชอบต่อสังคม
พฤติกรรมของตัวชี้วัดที่แสดงถึง PISA
(1)พัฒนาแอปพลิเคชัน
(2)รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
(3)วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด
(4)ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
และ
ครูวิไลวรรณ มิ่งสกุล รร.ศรีสังวาลย์ขอนแก่น
ครูนิตติยา นีระพันธ์ โรงเรียน สาวะถีพิทยาสรรพ์
ครูดวงสุดา ลาบัวสาร รร.ศรีสังวาลย์ขอนแก่น
ครูโชติย์ พูวัดพิทยาคม
ครูชัชนาถ รร.ท่านางแนววิทยายน
ครูปุณณพัฒน์ ชัยวงษา รร.ภูเวียงวิทยาคม
ครูประวีณา รร.บ้านหัวยขอบหัวยเหียม
ครูธัญญาภรณ์ รุจิชอบ รร.ชุมชนวัดบางขัน
ครูชญานิศ รร.เทศบาลศรีเมืองพล
ครูทัศนภรณ์ รร.บ้านโนนรังวิทยาคาร
ครูชัยนันท์ รร.น้ำพองศึกษา
ครูพุทธา หวังลาภ รร.เทศบาลศรีเมืองพลประชานุเคราะห์
ครูไชยศิริ สอนนำ รร.กุดเข้ห้วยบงวิทยานุกูล
ครูวิศน์กานต์ รร.เวียงวงกตวิทยาคม
[3] สมรรถนะตามแนว PISA
สมรรถนะตามแนว PISA ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
สมรรถนะตามแนว PISA ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ (Explain Phenomena Scientifically) การมีความสามารถในการรับรู้ เสนอและประเมินคำอธิบายที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและเทคโนโลยี
1.1 นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้สร้างคำอธิบายที่สมเหตุสมผล
1.2 ระบุ ใช้ และสร้างตัวแบบ และนำเสนอข้อมูลเพื่อใช้ในการอธิบาย
1.3 เสนอสมมติฐานเพื่อใช้ในการอธิบาย
1.4 พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในเชิงวิทยาศาสตร์โดยใช้ความเป็นเหตุเป็นผลที่เป็นไปได้
1.5 อธิบายถึงศักยภาพของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำไปใช้เพื่อสังคม
การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Evaluate and Design Scientific Enquiry) การมีความสามารถในการอธิบายและประเมินคุณค่าของการสำรวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ และนำเสนอแนวทางในการตอบคำถามอย่าง เป็นวิทยาศาสตร์
2.1 สามารถระบุประเด็นปัญหาที่ต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้
2.2 แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2.3 เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้
2.4 ประเมินวิธีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้
2.5 บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล และความเป็นกลางและการสรุปอ้างอิง จากคำอธิบาย
การแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ (Interpret Data and Evidence Scientifically) การมีความสามารถในการวิเคราะห์และประเมินข้อมูล คำกล่าวอ้าง และข้อโต้แย้งในหลากหลายรูปแบบ และลงข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์ได้ อย่างเหมาะสม
3.1 แปลงข้อมูลที่นำเสนอในรูปแบบหนึ่งไปสู่รูปแบบอื่น
3.2 วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุป
3.3 ระบุข้อสันนิษฐาน ประจักษ์พยาน และเหตุผล ในเรื่องที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
3.4 แยกแยะระหว่างข้อโต้แย้งที่มาจากประจักษ์พยานและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ กับที่มาจากการพิจารณาจากสิ่งอื่น
3.5 ประเมินข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์และประจักษ์พยานจากแหล่งที่มาที่หลากหลาย (เช่น หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต และวารสาร
สมรรถนะตามแนว PISA ในรายวิชาคณิตศาสตร์
สมรรถนะของ PISA ในรายวิชาคณิตศาสตร์
การคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ (Formulating situations in mathematical terms)
1.1 การระบุประเด็นทางคณิตศาสตร์ของปัญหาที่ตั้งอยู่ในบริบทโลกชีวิตจริง และการระบุตัวแปรที่สำคัญ
1.2 การรู้โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (รวมถึง กฎเกณฑ์ ความสัมพันธ์ และแบบรูป) ของปัญหาหรือสถานการณ์
1.3 การทำสถานการณ์หรือปัญหาให้อยู่ในรูปอย่างง่าย เพื่อทำให้การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ง่ายขึ้น
1.4 การระบุข้อจำกัดและสมมติฐานที่อยู่เบื้องหลังแบบจำลองทางคณิตศาสตร์และจากการทำให้อยู่ในรูปอย่างง่ายที่รวบรวมได้จากบริบท
1.5 การแสดงแทนสถานการณ์ในเชิงคณิตศาสตร์ โดยการใช้ตัวแปร สัญลักษณ์ แผนภาพ และแบบจำลองมาตรฐานที่เหมาะสม
1.6 การแสดงแทนปัญหาในหลากหลายวิธี รวมถึงการจัดการกับปัญหาให้สอดคล้องกับแนวคิดทางคณิตศาสตร์ และการสร้างสมมติฐานที่เหมาะสม
1.7 การรู้ เข้าใจ และการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษาเฉพาะกับบริบทของปัญหากับภาษาที่เป็นสัญลักษณ์และภาษาอย่างเป็นทางการที่จำเป็นต้องใช้ในการแสดงเชิงคณิตศาสตร์
1.8 การแปลงปัญหาให้อยู่ในรูปของภาษาทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงแทนการรู้แง่มุมต่าง ๆ ของปัญหา ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาที่รู้หรือแนวคิดหลักทางคณิตศาสตร์ที่รู้จักข้อเท็จจริง หรือวิธีดำเนินการ
1.9 การใช้เทคโนโลยีเพื่อแสดงความสัมพันธ์ภายในปัญหาที่อยู่ในสถานการณ์เชิงคณิตศาสตร์ (เช่น ตารางโปรแกรมทำงาน หรือรายการที่มีให้บนเครื่องคำนวณเชิงกราฟ)
การใช้หลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา (Application)
2.1 การคิดและนำกลยุทธ์ในการหาวิธีแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไปใช้
2.2 การใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งเทคโนโลยีเพื่อช่วยหาวิธีแก้ปัญหาที่ถูกต้องหรือเหมาะสม
2.3 การนำข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ ขั้นตอนวิธี และโครงสร้างทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา
2.4 การดำเนินการในเรื่องจำนวน ข้อมูลและข้อสนเทศเกี่ยวกับกราฟและสถิติ นิพจน์พีชคณิตและสมการ และการแสดงแทนทางเรขาคณิต
2.5 การสร้างแผนภาพ กราฟ และโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ และการสกัดข้อมูลทางคณิตศาสตร์จากสิ่งเหล่านั้น
2.6 การใช้และการสลับที่ระหว่างการใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในกระบวนการแก้ปัญหา
2.7 การสร้างข้อสรุปทั่วไปบนพื้นฐานของผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำวิธีการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา 2.8 การสะท้อนข้อโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ การอธิบายและการแสดงเหตุผลต่อผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์
การตีความและประเมินผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ (Interpretation)
3.1 การตีความผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์กลับไปที่บริบทโลกชีวิตจริง
3.2 การประเมินความเป็นเหตุเป็นผลของวิธีแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในบริบทของปัญหาโลกชีวิตจริง
3.3 ความเข้าใจว่าบริบทในชีวิตจริงส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์และวิธีคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์หรือแบบจำลองอย่างไร เพื่อตัดสินว่าจะต้องปรับปรุงหรือนำผลไปใช้ในสถานการณ์ได้อย่างไร
3.4 การอธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดผลลัพธ์หรือข้อสรุปทางคณิตศาสตร์จึงเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมกับบริบทของปัญหา
3.5 ความเข้าใจขอบเขตและข้อจำกัดของแนวคิดคณิตศาสตร์และวิธีแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
3.6 การวิจารณ์และระบุข้อจำกัดของแบบจำลองที่ใช้แก้ปัญหา
(3) แผนการจัดการเรียนรู้
(2.1) ทางเลือกที่ดีที่สุด
(2.2) ลิขสิทธิ์
(2.3) พรบ.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยที่ 3
ใช้อย่างปลอดภัยและชอบธรรม
เรื่อง
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
รหัสวิชา
ว...........
รายวิชา
วิทยาการคำนวณ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3
ภาคเรียนที่
1
ปีการศึกษา
2563
เวลา
1 ชั่วโมง
(1) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
(2) จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
(3) สาระสำคัญ
(4) สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
(5) สาระการเรียนรู้
(6) กิจกรรมการเรียนรู้
(7) สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
(8) การวัดและประเมินผล
(9) บันทึกผลหลังการสอน
(2.4) ถูกต้องปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ
ประเมิน : ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
ประเมิน : ความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy)