Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคและการรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการทางอายุรกรรม,…
การวินิจฉัยแยกโรคและการรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการทางอายุรกรรม
กลุ่มอาการทางระบบหู ตา คอ จมูก
ความผิดปกติจากการหักเหของแสง
Astigmatism (สายตาเอียง)
สาเหตุ
กระจกตาหรือเลนส์ตามีความโค้งไม่เท่ากัน หรือ มีรูปร่างผิดไปจากปกติ
อาการ
มองเห็นภาพเบลอ/เห็นภาพผิดเพี้ยน ทั้งในระยะใกล้และไกล
ปวดหัว ปวดตา ตาล้าจากใช้สายตานาน เช่น การอ่านหนังสือ
Hyperopia (สายตายาว)
Myopia(สายตาสั้น)
โรคที่เปลือกตา
1.กุ้งยิง (Sty / Hordeolum)
สาเหตุ
ต่อมไขมันที่โคนขนตาอุดตันและมีการติดเชื้อ Staphylococcus
หนังตาอักเสบ (Blephalitis)
สาเหตุ
Staphylococcus infection
อาการ
ระคายเคืองตา แสบตา คันตา เปลือกตา/หนังตาแดง
ตากลัวแสง น้ำตาไหล
รู้สึกเหมือนมีผงหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าตามักจะเป็นมากในตอนเช้า สายๆอาการจะดีขึ้น
3.ถุงน้ำตาอักเสบ (Dacryocystitis)
สาเหตุ
ท่อน้าตาอุดตัน & มีการติดเชื้อ
บาดเจ็บ
Chronicsinusitis
โรคทางเยื่อบุตา
Bacterial conjunctivitis
สาเหตุ
ในผู้ใหญ่ Staphylococcus aureus และ Gonococci
ในเด็ก Streptococcus pneumoniae และ Haemophilusinfluenzae
ติดต่อโดยการสัมผัส
อาการ / อาการแสดง
เยื่อบุตาแดงแบบ conjunctival injection
หนังตาบวม ขี้ตามากสีเหลืองหรือสีเขียว
ไม่ปวดตา ไม่เคืองตา ไม่มีอาการคัน
ต่อมน้าเหลืองที่หน้าหูไม่โต
การรักษา
เช็ดตาหรือล้างตาด้วย NSS/ น้าต้มสุก
ใช้ยาป้ายตาหรือยาหยอดตา
หนังตาบวม Prescribed ATB if needed
Viral conjunctivitis
สาเหตุ
เชื้อ adenovirusicornavirus
โรคตาแดงระบาด มักเกิดจากเชื้อไวรัส enterovirus
ระยะฟักตัว 1-2วัน
อาการ / อาการแสดง
ตาแดง หนังตาบวมเล็กน้อย เคืองตา น้ำตาไหล
มีขี้ตาเล็กน้อย อาจมีไข้เจ็บคอ อ่อนเพลีย
เยื่อบุตาแดงแบบ conjunctival injection
หนังตาบวม ต่อมน้าเหลืองที่หน้าหูโต
การรักษา
ห้ามใช้ยาหยอดตาหรือป้ายตาปฏิชีวนะและ steroid
ควรหยุดโรงเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหาย และควรล้างมือบ่อยๆ
Allergic conjunctivitis
สาเหตุ
แพ้ฝุ่น เกสรดอกไม้ เครื่องสำอาง
อาการ / อาการแสดง
คันตาตรงหัวตา หนังตาบวม
เยื่อบุตาแดง conjunctival injection
น้ำตาไหล แรกๆ จะใส ต่อมาจะเหนียว
การรักษา
ใช้ยาหยอดตาที่มี steroidไม่เกิน 7วัน
ยาแก้แพ้
คันมาก ให้ประคบเย็น
หลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้
Gonococcal ophthalmia neonatorum
สาเหตุ
ติดเชื้อหนองในจากช่องคลอดของมารดา
อาการ / อาการแสดง
ทารก 1-4วัน มีอาการตาอักเสบ
หนังตาบวม ลืมตาไม่ได้ ขี้ตาแฉะ เป็นหนองสีเหลือง/เขียว
การรักษา
Ceftriaxone50 mg/ นน ตัว 1kg. IM.ครั้งเดียว
การป้องกัน
ยาหยอดตาAgNo3
ยาป้ายตาTetracycline
Trachoma
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Chlamydia trachomatis
อาการ / อาการแสดง
•เคืองตา คันตา น้าตาไหล ตาแดงเล็กน้อย อาจมีขี้ตา
•เยื่อบุตาหนา มีตุ่มเล็ก ๆ ที่เยื่อบุตาบนแผลเป็นที่เปลือกตา ขนตาเก
การรักษา
แบบเฉพาะเจาะจง
•ให้ยา erythromycin หรือ Azithromycin
•ป้ายตาด้วย tetracyclineวันละ 4ครั้ง นาน 14วัน
ต้อเนื้อ (Pterygium)
ต้อลม (Pinguecula)
สาเหตุ
Degenerative change (การเปลี่ยนแปลงสภาพจากความเสื่อม)
ถูกแดด ลม ฝุ่น มาก
เป็นเยื่อๆ ส่วนใหญ่จะเกิดบริเวณหัวตาบางคนมีทั้งที่หัวตาและหางตา
เยื่อที่มีลักษณะบางยังไม่ลามเข้า cornea มักเรียกว่าต้อลม
ถ้าหนามากโดยเฉพาะมีการลามเข้าสู่ corneaจะเรียกว่า ต้อเนื้อ
การรักษา
น้ำตาเทียม
ยากลุ่ม Antihistamine
Steroid ในรายที่อักเสบ
ผ่าตัด ถ้าหนาจนทาให้เคืองตามากน้าตาไหล : without graft :with graft (conjunctiva, amniotic membrane)
โรคของกระจกตา
ต้อกระจก(Cataract)
เป็นความผิดปกติของเลนส์แก้วตา (Lens)
ปกติเลนส์จะต้องใส ยอมให้แสงผ่านไปได้ด้วยดี
ผิดปกติมีความขุ่นเกิดขึ้นที่เลนส์แก้วตาเหมือนกระจกใช้มานานๆ แล้วเป็นฝ้า คราสกปรกติดเมื่อผู้ป่วยต้องมองภาพผ่านเลนส์ที่เป็นต้อกระจก จึงเห็นภาพได้ไม่ชัด
การรักษา
Extracapsular Cataract Extraction (ECCE)
•ใช้มือผ่า
•แผลผ่าตัดจะใหญ่
•ความโค้งของกระจกตาหลังผ่าตัดเปลี่ยนแปลงไปได้มาก
•โอกาสเกิดสายตาเอียงเป็นไปได้มาก
2.Phacoemulsification
•นิยมที่สุดในปัจจุบัน
•ใช้การเจาะรูเล็กๆแล้วใช้คลื่นเสียงความถี่สูงไปสลายเลนส์แก้วตาให้เป็นเศษเล็กๆ
•ดูดเศษ Lens ออกมา
•แผลผ่าตัดเล็ก
•ข้อเสีย: เครื่องมือมีราคาแพง
IntracapsularCataract Extraction (ICCE)
•ใช้มือผ่า
•เอาเลนส์และถุงหุ้มเลนส์ออก
โรคของประสาทตา
ต้อหิน (Glaucoma)
Primary glaucoma
1.1 open angle glaucoma
อาการค่อยเป็นค่อยไป
ไม่มีอาการปวด
VF drop,central vision ดี
optic nerve ถูกทาลายก่อนการตรวจพบ (glaucomatous cupping)
IOPสูง (สูงกว่า 21 mmHg)
1.2 closed angle glaucoma
ปวดตารุนแรง ปวดร้าวไปท้ายทอย
น้ำตาไหล เห็นแสงรุ้งรอบดวงไฟ
คลื่นไส้ อาเจียน
Ciliary injection, cloudy cornea
Pupil semidilatationfixed
Congenital glaucoma
Secondary glaucoma
กลุ่มอาการไข้และอาการอ่อนเพลีย
นิยาม
ไข้ อุณหภูมิร่างกาย >37.8 °C
เฉียบพลัน เวลาที่มีไข้ไม่เกิน 7-14 วัน
กึ่งเฉียบพลัน มีไข้ 14-21 วัน
เรื้อรัง มีไข้ > 21 วัน
ไข้
Constant fever อุณหภูมิสูงกว่าปกติตลอดเวลา
Remittent fever สูงกว่าปกติในบางช่วง บางช่วงลดลงภายใน 24 hr แต่อุณหภูมิสูงยังกว่าปกติ
Intermittent fever ไข้สูงในช่วงเวลาหนึ่งและลดลงสู่ภาวะปกติใน 24 hr
Relapsing fever ไข้สูงในช่วง 1-2 วัน สลับกลับปกติ
Hectic fever or septic fever ไข้สูงและต่ำกว่าปกติ
แนวทางการวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการเจ็บป่วยหลัก
โรคประจำตัว
อาชีพ/ที่อยู่อาศัย
ประวัติการสัมผัสโรค
ประวัติการระบาดในครอบครัว/หมู่บ้าน
การตรวจร่างกาย
Vital sing
Fecal sing
Rash
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
UA
CxR
โรคติดเชื้อไข้เฉียบพลันที่พบบ่อย
การติดเชื้อเฉพาะที่การแบคทีเรีย
-Leptosirosis , Scrup typhus , Meliodosis
การติดชื้อไวรัส
Dengue, Influenza
การติดเชื้อปรสิต
Malaria
อาการอ่อนเพลียแบ่งเป็น 3 ประเภท
จากโรคอายุรกรรม ยาวนานเป็นเดือน
จากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ออกกำลังกายมาก, นอนน้อย, กินน้อย
ชนิดเรื้อรัง ยาวนานกว่า 6 เดือน ไม่ดีขึ้นหลังได้พักผ่อน
กลุ่มอาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการและโรคทางโลหิตวิยา (รักษาตามอาการ)
ซีด = ขาดธาตุเหล็ก, ธาลัสซีเมีย, มะเร็งเม็ดเลือดขาว
เลือดไหลไม่หยุด = ขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
จุดเลือดออกใต้ผิวหนัง = เกลือเลือดต่ำไข้เลือดออก
จ้ำเลือดใต้ผิวหนัง = ฮีโมฟีเลีย
บวมตามข้อโดยไม่ทราบสาเหตุ = ฮีโมฟีเลีย
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก
เจ็บแน่น, จุกแน่นลิ้นปี่
ปวดเมื่อยหัวไหล่ ปวดกราม
เจ็บอกหนักๆ เหมือนมีอะไรทับ รัด
เป็นมากขณะออกกำลังกาย
นั่งพักหรืออมยา nitroglycerin อาการเบาลง
อาการความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เวียนศีรษะ
เป็นลม
อาการแสดงของการขาดน้ำ
อาการแสดงของน้ำเกิน
การวินิจฉัย
Vital sign
อาการแสดงของภาวะขาดเลือด
ระดับความรู้สึกตัว
ประเมินการไหลเวียนเลือดในเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ตรวจ cardiac enzyme
EKG
หาสาเหตุของภาวะช็อค
กลุ่มอาการในระบบทางเดินอาหาร
อาการปวดท้องแบ่งเป็น 3 ประเภท
1.visceral pain
ปวดโดยตรงของอวัยวะภายในช่องท้องชนิดเป็นท่อ
ปวดตื้อๆ ไม่รุนแรง บอกขอบเขตปวดไม่ได้
Parietal หรือ Somaticpain
ปวดบริเวณตรงผนังท้อง
ปวดรุนแรง ปวดเฉพาะที่
Refered pain
ปวดท้องร่วมกับอาการปวดที่ผิวหนัง
เจ็บแปลบชัดเจน และมีตำแหน่งแน่นอน
อาการสำคัญที่มา รพ.
อาเจียน ปวดท้อง ถ่ายเป็นเลือด
ท้องเสีย อุจจาระร่วง ตัวตาเหลือง
สาเหตุจาก
ความผิดปกติทางเดินอาหาร
ระบบการไหลเวียนโลหิต/หัวใจ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบเมตตาบอลิค
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไป
Vital sign
ตรวจหน้าท้อง
ตรวจร่างกายส่วนอื่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด : CBC, VA, BS, BUN, Cr, electrolyte, anylose
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การถ่ายภาพรังสี : Plain abdomen, US, CT scan
การทำ Angiogram
กลุ่มอาการทางผิวหนัง
สาเหตุของโรคผิวหนัง
จากติดเชื้อรา
กลาก
เริ่มแรกจะเกิดผื่นแดงและคัน อาจจะเป็นรูปไข่หรือวงกลม ตรงกลางผื่นจะมีสีปกติหรือสีแดง ส่วนขอบจะยกสูง สีแดงและเป็นขุย ซึ่งเป็นบริเวณที่พบเชื้อเป็นจำนวนมาก
เกลื้อน
สีของผิวหนังเปลี่ยนแปลง บางรายจางบางรายเข้มขึ้น
จากติดเชื้อแบคทีเรีย
ฝี (Abscess)
ตุ่ม หรือก้อนบวมแดง ปวด กดเจ็บ อาจพบต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้เคียงบวมและปวด
แผลพุพอง (Impetigo, Ecthyma)
เริ่มแรกขึ้นเป็นผื่นแดงและคัน ต่อมากลายเป็นตุ่มน้ำใส แตกง่าย กลายเป็นสีแดง มีน้ำเหลืองเหนียว ๆติดเยิ้ม กลายเป็นสะเก็ดเหลืองกรังติดอยู่ เมื่อผื่นแรกแตก มีผื่นบริวารขึ้นตาม บางรายอาจมีไข้ต่ำ
ผิวหนังอักเสบ (Cellulitis)
-บวมแดงร้อนและปวด ขอบเขตไม่ชัดเจน ขึ้นแขนขา หรือใบหน้าอาจมีไข้อ่อนเพลีย
-ต่อมน้ำเหลืองอาจโต อาจมีท่อน้ำเหลืองอักเสบเป็นรอยแดงเป็นแนวยาว
จากภูมิแพ้
ลมพิษ(Urticaria)
เริ่มด้วยอาการคันตุ่มเล็กๆ นูนแดง คันตุ่มขยายกว้างออกเป็นปื้นใหญ่ๆอาจเกิดแห่งเดียวหรือหลายแห่ง กระจายทั่วทั้งตัวบางรายมีอาการบวมตามตัว แขนขา หน้า ปากบวมหายใจลาบาก หอบหืด
การอักเสบของผิวหนังจากการสัมผัส
(Contact dermatitis)
ระยะเฉียบพลัน
บวม แดง คัน น้าเหลืองซึมเยิ้ม มีเม็ดตุ่มใสๆอยู่ด้วย
ระยะทุเลา
การอักเสบลดลง บวม แดง คัน ลดลง น้ำเหลืองแห้งกลายเป็นสะเก็ด
ระยะเรื้อรัง
เป็นมานาน ผิวหนังหนาขึ้น สีคล้าลง มีสะเก็ดบางๆ
จากติดเชื้อไวรัส
Herpes simplex / เริม
ตุ่มใส ๆ ขึ้นเป็นกลุ่ม โดยรอบเป็นผื่นแดง และกลายเป็นสีเหลอื งขุ่นและแตกใน 2 wks
Measles / หัด
ไข้ ไอมาก ตาแดง อ่อนเพลีย ตรวจพบ Koplik”s หลังไข้วันที่ 4 จะมีผื่นเกิดขึ้น
หัดเยอรมัน / Rubella
ไข้ต่ำ ๆ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามร่างกาย ผื่นจุดแดง ๆ เริ่มจากหน้าก่อนลามลงมาคอ แขน ขา ลำตัว ภายใน 24 ชม.
กลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจ
หลักการวินิจฉัย
Non-infection
•อาจมีหรือไม่มีไข้
•อวัยวะนั้นๆอาจมีการบวมแต่มักไม่ค่อยแดง ส่วนใหญ่จะซีด หรือเป็นสีม่วงอ่อนๆ
สาเหตุ
การระคายเคือง (Irritation)
การแพ้ (Allergy)
Infection
ไข้
สาเหตุ
Bacterial
Virus
Others เช่น Fungal etc
อักเสบ (โตบวมแดง)
หลักการแยก
Virus infection
•มีไข้
•คอแดงเล็กน้อย
•น้ามูก/เสมหะ ใส/ข้นขาวถึงเหลือง
Bacterial infection
•มีไข้
•คอแดงมาก
•น้ามูก/เสมหะข้นเขียว
•อาจมีหนอง
แยกระบบทางเดินหายใจ 2 ส่วน
โรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน (Upper Respiratory Tract Infection)
อาการที่พบบ่อยๆ
1 : คัดจมูก / แน่นจมูก /น้ามูกไหล
2 : เจ็บคอ / แสบภายในคอ
อวัยวะของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง
(Lower Respiratory Tract Organ)
อาการที่พบบ่อยๆ
1 : อาการไอ
2 : หายใจไม่อิ่ม/หายใจเหนื่อย
3 : อาการหอบ / หายใจเร็ว
นางสาวลูกน้ำ กุมภัณฑ์ รหัสนักศึกษา 604991053