Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก :silhouettes:(Infertility), post coital test 2,…
ภาวะมีบุตรยาก :silhouettes:(Infertility)
ความหมาย :check:
การที่คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้โยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอเป็นระยะเวลา 1 ปีิ
สตรีที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นมีเพศสัมพันธุ์โดยไม่คุมกำเนิดเป็นระยะเวลา 6 เดือน แต่ไม่ตั้งครรภ์ถือว่ามีภาวะมีบุตรยาก
ชนิดของการมีบุตรยาก :question:
ปฐมภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ทุติยภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาแล้ว อาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้งหรือการคลอดหลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุ ❗
หญิง
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ 40
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
ชาย
การสร้างเชื้ออสุจิผิดปกติ (Sperm disfunction) พบร้อยละ 80
มีการเคลื่อนไหวน้อย
อสุจิน้อย
รูปร่างผิดปกติ
ปัจจัยทางเพศ (Sexual factors) พบร้อยละ 10
การหย่อนสมรรถภาพทางเพศ (Erectile Dysfunction)
หลั่งเร็ว (Premature Ejaculation)
ภาวะทางด้านจิตใจ
ความเครียด
ความวิตกกังวล
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก :check:
หญิง
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
โรคทางอายุรกรรม
Secondary sex : ลักษณะทุติยภูมิทางเพศ
การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
คอมดลูก
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
ตัวมดลูก
ท่อนำไข่
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
การซักประวัติ
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติการมีประจำเดือน
Sex
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมีต่างๆ
ผลทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือทั่วๆไป ,การตรวจฮอร์โมนฯ
การวินิจัย
Endoscopy
Laparoscopy : การตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy : ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่
BBT, Cx mucous, Endometrium
biopsy, Serum progesterone
Hysterosalpingogram(HSG)
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน
Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
เต้านม
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล (midluteal serum progesterone level)
˃ 5 μ/dl = มีการตกไข่
˃ 10 μ/dl=มีการตกไข่และคอร์ปัสลูเทียมทำงานปกติ
postcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
sperm function
tests
ชาย
การซักประวัติ
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธุ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hormone
ตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติ
การเคลื่อนไหว 50%
การมีชีวิต 50%
จำนวนอสุจิ 20 ล้านตัว/CC
pH 6-8
น้ำเชื้อ > 2 CC
CBC
การตรวจอสุจิ
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชม.หลังจากที่เก็บได้
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ2-7วัน
ความสามารถในการมีบุตร :fire:
หญิง อายุ 20-25 ปี
ความสามารถในการมีบุตรสูง
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
ชายอายุมากกว่า 55 ปี
มีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
การรักษาการมีบุตรยาก✨
การฉีดน้ำอสุจิเข้าโพรงมดลูกโดยตรง (Intra-uterine insemination)
ไม่เหมาะกับ
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องอสุจิ เช่น จำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ
ผู้หญิงที่มีท่อนำไข่ตีบตันหรือมัพังผืดขวางทางระหว่างไข่และท่อนำไข่
การนำอสุจิที่คัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะไข่ตก แพทย์จะใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบ เพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional)
การกระตุ้นไข่ (Ovulation induction)
การผสมเทียม
การกำหนดระยะเวลาในการมัเพศสัมพันธุ์ (Timing intercourse)
Micromanipulation
วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว วิธีที่นิยมใช้คือ
อิ๊กซี่ (Intracytoplasmic Sperm Injection : ICSI)
คือการฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์โดยตรง หลังจากเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อน
:!!:เหมาะกับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ :!!:
ข้อบ่งชี้ของการทำICSI :check:
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิรูปร่างผิดปกติ
ตัวอสุจิน้อยมาก
Immunological factor
Retrograde ejeculation
คู่สมรสผ่านการทำปฏิสนธินอกร่างกายแล้ว แต่อสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ได้แม้ในรายที่มรปริมาณอสุจิน้อยกว่า 100 ตัว :warning: ดังนั้นICSI จึงเหมาะกับผู้ที่มีปัญหาจำนวนอสุจิน้อยมาก หรืออสุจิมีโครงสร้างผิดปกติมาก
เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรง
วิทยาการช่วยเหลือการมีบุตร assiated reproductive technologies (ART)
การกระตุ้นการตกไข่
ให้GnRH เป็นระยะ กระตุ้นการผลิต FSH และLH หรือให้ยา ไปกีดกันการทำงานของอีสโทรเจน ไม่ให้ไปยับยั้งการทำงานของGnRH ทำให้FSH และLH ถูกผลิตออกมาเป็นจำนวนมาก มีผลทำให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบ และจะนำไข่ที่แข็งแรงมาปฏิสนธินอกร่างกายด้วยวิธีต่างๆ เช่น
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ Assisted Reproductive Technology (ART)
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer)
คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว แต่ไข่ที่นำมาผสมกับอสุจิแล้วจะเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิจะใส่ตัวอ่อนกลับสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง ใส่ไปในท่อนำไข่
GIFT (Gamete Intrafallopian Transfer)
คือ การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังจากกระตุ้นไข่แล้วนำไข่มารวมกับอสุจิที่คัดแยกแล้ว และนำไปฉีดเข้าท่อนำไข่ทันที
IVF (In Vitro Fertilization)
คล้ายกับการทำGIFTแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่เตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพ่อให้เซลล์แบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนระยะ 4-8 เซลล์ ใช้เวลาประมาณ 2-5 วัน จากนั้นนำตัวอ่อนใส่ไปในโพรงมดลูก
ภาวะมีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ :!?:
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากจนครบมาตรฐานแล้ว
นางสาววรรณรดา ทาศรีทอง ปี 2 ห้อง A เลขที่ 67 รหัสนักศึกษา 613601072