Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสิ้นสุดของการสมรส การหย่า, ตามมาตรา1514 วรรคสองและมาตรา1515,…
การสิ้นสุดของการสมรส
การหย่า
การหย่าโดยคำพิพากษาของศาล
เหตุหย่าที่เกิดจากความผิดของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
มาตรา1516(2)
เหตุฟ้องหย่าเพราะสามีหรือภริยาประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง
มาตรา1516(1)
สามีหรือภริยาอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรือสามี หรือ
(สามี) เป็นชู้ หรือ (ภริยา) มีชู้ หรือ
(สามีหรือภริยา) ร่วมประเวณีกับผู้อื่นเป็นอาจิณ
มาตรา1516(3)
หมิ่นประมาท หรือเหยียดหยามอีกฝ่ายหนึ่งหรือบุพการีของอีกฝ่ายหนึ่ง
การทำร้ายร่างกายหรือจิตใจอย่างร้ายแรง
มาตรา1561(4)
สามีหรือภริยาจงใจละทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไปเกินหนึ่งปี
มาตรา1516(4/1)
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
ต้องถูกจำคุกมาแล้วเป็นเวลาเกิน 1 ปี
ความผิดที่ทำให้ต้องจำคุกนั้น ฝ่ายที่จะฟ้องหย่าต้องไม่ได้มีส่วนก่อให้เกิด หรือไม่ได้รู้เห็นเป็นใจด้วย
ถ้าให้เป็นสามีภริยาต่อไปจะเดือดร้อนเสียหายเกินสมควร
มาตรา1516(6)
สามีหรือภริยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูอีก
ฝ่ายหนึ่งตามสมควรถึงขนาดที่เกิดความเดือดร้อนเกินควร
สามีหรือภริยากระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามี
ภริยาอย่างร้ายแรงถึงขนาดที่เกิดความเดือดร้อนเกินควร
มาตรา1516(8)
สามีหรือภริยาผิดทัณฑ์บนที่ทำให้ไว้เป็นหนังสือในเรื่องความประพฤติ
ข้อยกเว้นของ
การฟ้องหย่า
มาตรา 1517
ฝ่ายที่ฟ้องหย่ายินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจ
ฝ่ายที่ฟ้องหย่าเป็นต้นเหตุให้เกิดเหตุหย่านั้น
เรื่องที่ประพฤติผิดทัณฑ์บนเป็นเรื่องเล็กน้อย
มาตรา1518
สิทธิฟ้องหย่าย่อมหมดไปในเมื่อฝ่ายที่มีสิทธิฟ้องหย่าได้กระทำการอันแสดงให้เห็นว่าได้ให้อภัยในการกระทำของอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเป็นเหตุให้เกิดสิทธิฟ้องหย่านั้นแล้ว
เหตุหย่าที่ทำให้ชีวิตสมรสสิ้นสุดลงหรือไม่สามารถดำเนินต่อไปได้โดยปกติสุข
มาตรา1516(4/2)
สามีภริยาสมัครใจแยกกันอยู่เป็นเวลาเกิน 3 ปี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
สามีภริยาแยกกันอยู่ตามคำสั่งของศาลเป็นเวลาเกิน 3 ปี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
มาตรา1516(5)
สามีหรือภริยาถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญ อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
สามีหรือภริยาไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นเวลาเกิน 3 ปีโดยไม่มีใครทราบแน่ว่าเป็นตายร้ายดี
อย่างไร อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
มาตรา1516(7)
สามีหรือภริยา วิกลจริตตลอดมาเกินสามปี
ความวิกลจริตถึงขนาดที่จะทนอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาต่อไปไม่ได้
ความวิกลจริตนั้นมีลักษณะยากจะหายได้
มาตรา1516(9)
สามีหรือภริยา เป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรงอันอาจเป็นภัยแก่อีกฝ่ายหนึ่ง
โรคมีลักษณะเรื้อรังไม่มีทางที่จะหายได
มาตรา 1516(10)
สามีหรือภริยา มีสภาพแห่งกายทำให้สามีหรือภริยานั้นไม่อาจร่วมประเวณีได้ตลอดกาล
ผลของการหย่าโดยคำพิพากษาของศาล
ผลต่อคู่สมรส
ผลในทางทรัพย์สิน
การแบ่งสินสมรสและชำระหนี้
เมื่อหย่ากันแล้วให้จัดการแบ่งทรัพย์สินของสามีภริยา แต่ในระหว่างสามีภริยา
ถ้าเป็นการหย่าโดยคำพิพากษาของศาล คำพิพากษาส่วนที่บังคับทรัพย์สินระหว่างสามีภริยานั้น มีผลย้อนหลังไปถึงวันฟ้องหย่า
เมื่อหย่ากันให้แบ่งสินสมรสให้ชายและหญิงได้ส่วนเท่ากัน
ในกรณีที่สามีหรือภริยาทำให้สินสมรสเสียหาย กฎหมายให้สมมติว่าสินสมรสนั้นยังคงมีอยู่เพื่อจัดแบ่งสินสมรสให้เท่ากันทั้งสองฝ่าย
เมื่อการสมรสสิ้นสุดลง ให้แบ่งความรับผิดในหนี้ที่จะต้องรับผิดด้วยกัน ตามส่วนเท่ากัน
ค่าทดแทน
ภริยาหรือสามีมีสิทธิได้รับค่าทดแทนจากสามีหรือภริยาและจากผู้ซึ่งได้รับการอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องหรือผู้ซึ่งเป็นเหตุแห่งการหย่านั้น
สามีจะเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งล่วงเกินภริยาไปในทำนองชู้สาวก็ได้ และภริยาจะเรียกค่าทดแทนจากหญิงอื่นที่แสดงตนโดยเปิดเผยเพื่อแสดงว่าตนมีความสัมพันธ์กับสามีในทำนองชู้สาวก็ได้
เหตุหย่าตามมาตรา 1516 (3) (4) หรือ (6) โดยมีความ
ประสงค์ให้อีกฝ่ายทนไม่ได้จนต้องฟ้องหย่า
ค่าเลี้ยงชีพ
ศาลพิพากษาให้คู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ผิดแต่เพียงผู้เดียว
การหย่าดังกล่าวทำให้คู่สมรสฝ่ายหนึ่ง (ที่ไม่ได้กระทำผิด) ต้องยากจนลงเพราะการหย่านั้น
ถ้าหย่าขาดจากกัน เพราะเหตุวิกลจริต
เพราะเหตุเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง
ผลต่อบุตร
อำนาจปกครองบุตร
บุตรที่อยู่ในความดูแลของฝ่ายใดอยู่แล้วควรให้ฝ่ายนั้นดูแลต่อไปตามเดิม
บุตรทั้งหลายควรจะได้อยู่ร่วมกันในครอบครัวเดียวกัน
ความประสงค์และความรู้สึกของบุตร
ความสามารถในการจัดการศึกษาอบรม ด้านวิชาการ วิชาชีพศาสนา ศีลธรรม และพัฒนาทางสติปัญญา ให้แก่บุตรทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน
ความสามารถในการจัดหาที่พักอาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และการรักษาพยาบาล
ระยะเวลาที่บุตรได้อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เป็นอยู่
ความรักใครเอ็นดูและความรู้สึกผูกพันทางจิตใจ
บุตรที่อ่อนอายุต้องการมารดา
การอุปการะเลี้ยงดูบุตร
ถ้าหย่าโดยคำพิพากษาของศาลหรือในกรณีที่ สัญญาหย่ามิได้กำหนดเรื่องค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรไว้ ให้ศาลเป็นผู้กำหนด
การติดต่อบุตร
บิดามารดาจึงมีสิทธิติดต่อบุตรได้ตามสมควรแก่พฤติการณ์ แม้ตนจะไม่มีอำนาจปกครองแล้วก็ตาม
การหย่าโดยความยินยอม
วิธีการหย่าโดยความยินยอม
2.ลงลายมือชื่อพยานอย่างน้อยสองคน
1.ทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สมรสทั้งสองฝ่าย
3.นำหนังสือหย่าไปจดทะเบียนสมรส
4.การหย่าโดยความยินยอมสมบูรณ์
ผลของการหย่าโดยความยินยอม
ผลต่อทรัพย์สิน
ทรัพย์สินแบ่งตามที่มีอยู่ในขณะจดทะเบียนหย่า
การแบ่งทรัพย์สินและหนี้สินในกรณีการหย่าโดยความยินยอมนี้จะแบ่งอย่างไรก็ได้
ผลต่อคู่สมรส
เมื่อนำหนังสือหย่าไปจดทะเบียน การสมรสสิ้นสุดลงทันที
ผลต่อบุตร
-อำนาจปกครองบุตร คือ อำนาจสำคัญเหนือผู้เยาว์ในการที่จะอบรมดูแล ปกป้องสวัสดิภาพ และจัดการทรัพย์สินของบุตรด้วย
-คู่สมรสต้องทำหนังสือตกลงว่าจะ
ให้ใครมีอำนาจปกครองเหนือบุตร
คนใด (กรณีมีบุตรหลายคน)
-ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้ศาล
เป็นผู้ชี้ขาด
ตามมาตรา1514 วรรคสองและมาตรา1515
ตามมาตรา1520 วรรคหนึ่ง
ตามมาตรา1532
มาตรา1532
มาตรา1523
มาตรา1526
มาตรา1535
มาตรา1534
มาตรา1533
มาตรา1524
มาตรา1527
มาตรา 1522 วรรคสอง
มาตรา 1581/1
ตามมาตรา1515