Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), กิ้ฟ, ไอวีเอฟ, อิก, ซิฟ, 1253_1, นางสาวปิยณัฐ…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
การวินิจฉัยหาสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การตรวจร่างกาย
ลักาณะรูเปิดท่อปัสสาวะ
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หนังหุ้มปลายองคชาต
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การซักประวัติ
การได้รับยา สารเคมี รังสี
ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
รูปแบบการดำเนินชีวิต
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การได้รับอุบัติเหตุ การผ่าตัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจวิเคราะห์อสุจิ
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ ≥ 20ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด≥ 40ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ≥ร้อยละ 50มีการเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า
ปริมาตร (volume) ≥ 2มิลลิลิตร
ข้อปฎิบัติ
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่าน้ัน
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอก หรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
จำนวนเม็ดเลือดขาว <1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) = 7.2 หรือมากกว่า
การมีชีวิต (vitality) ≥ ร้อยละ 75
รูปร่าง ลักษณะ ≥ร้อยละ 14มีรูปร่างลักษณะปกติ
การตรวจเลือด
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การซักประวัติ
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
อุบัติเหตุและการผ่าตัด
การคุมกำเนิด
การมีประจำเดือน
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex
โรคทางอายุรกรรม
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธ์สตรี
คอมดลูก
ตรวจมูกคอมดลูก
PV
ลักษณะกายวิภาค
ตัวมดลูก
Hysterosalpingogram
Endometrium biopsy
Hysteroscopy
U/S
PV
ท่อนำไข่
Hysterosalpingogram
Laparoscope
CO2 insufflation หรือ Rubin test
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
PV
Wet smear
Culture
รังไข่
Cx mucous
Endometrium biopsy
BBT
Serum progesterone
เยื่อพังผิดในช่องเชิงกราน
Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
เต้านม
การประเมินท่อนำไข่มดลกูและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตขุองภาวะมีบตุรยากร้อยละ 30-50
การวินิจฉัย
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซเรย์
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
คือคู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหา สาเหตขุองการมีบตุรยากแล้วจนครบตาม มาตรฐานแล้ว แต่ไม่พบความผิดปกติ โดยจะพบได้ร้อยละ10 – 15 ของคู่สมรสทั้งหมด
หมายถึง
การมีสามารถตั้งครรภ์ได้ ภายหลังจากได้พยายามให้ตั้งครรภ์ด้วยการมีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอ โดยไม่คุมกำเนิด ในเวลา 1 ปี สำหรับสตรี 30-35 ปีขึ้นไปจะกำหนดเวลาที่ 6 เดือนในการวินิจฉัยว่าภาวะมีบุตรยาก
ประเภทของภาวะมีบุตรยาก
ภาวะมีบุตรยากปฐมภูมิ Primary infertility คือ คู่สมรสที่ไม่เคยตั้งครรภ์ พยายามตั้งครรภ์โดยไม่คุมกำเนิด นานอย่างน้อย 1 ปีแล้วไม่ตั้งครรภ์
ภาวะมีบุตรยากทุติยภูมิ Secondary infertility คู่สมรสที่เคยตั้งครรภ์มาก่อน แล้วไม่ตั้งครรภ์อีกหลังจากพยายามตั้งครรภ์นานอย่างน้อย 1 ปี
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร
การทำกิ๊ฟ Gamete Intra Follopain Transfer (GIFT) คือการเกบอสุจิและไข่ผสมกันแล้วใส่กลับท่อนำไข่ทันที ให้มีการปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ
การทำเด็กหลอดแก้ว In vitro Fertilization and Embryo Transfer หรือ IVF , ET คือการนำไข่และอสุจิมาผสมกันให้เกิดปฏิสนธินอกร่างกาย เลี้ยงตัวอ่อนจนถึงระยะ 4-8 เซลล์หรือเป็น Blastocyst จึงฉีดกลับโพรงมดลูก
การเก็บสเปิร์มโดยการหลั่งภายนอก (masturbation) เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น
การเก็บไข่โดยแทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง ซ่ึ่งสามารถเห็นไดจ้ากอลัตราซาวด ์หรือ ทางหน้าท้องไปที่รังไข่
การทำอิ๊กซี่ Intra Cytoplasmic Sperm Injection (ICSI) คือการคัดอสุจิที่แข็งแรง สมบูรณ์เพียงตัวเดียวฮีดเข้าไปในไข่โดยตรง
เหมาะสำหรับอสุจิมีโครงสร้าง ผิดปกติมาก
อสุจิน้อยมาก
อสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
การทำซิฟท์ Zygote Intrafollopian Transfer (ZIFT) คือการเก็บไข่และอสุจิมาทำการปฏิสนธินอกร่างกาย แล้วจึงนำตัวอ่อนระยะ zygote กลับไปที่ท่อนำไข่
การฉีดเชื้ออสุจิที่แข็งแรง สมบูรณ์เข้าไปในโพรงมดลูก Intra Uterine Insemination (IUI) คือการคัดเชื้อที่แข็งแรงสมบูรณ์ฉีดเข้าไปในโพรงมดลูดในวันที่ตกไข่
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาขั้นต้น
การกำหนดระยะเวลาการมีเพศสัมพันธ์
การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม
การฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง
คือ การนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
วิธีนี้ไม่เหมาะกับ
ท่อนำไข่เสียหายเยื่อบุมดลุกเจริญผิดที่หรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
สาเหตุ
สาเหตุฝ่ายหญิง
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
การทำงานของรังไข่ผิดปกติพบร้อยยละ 40
Immunological พบร้อยละ 5
Other พบร้อยละ 5
สาเหตุฝ่ายชาย
Sexual factors พบร้อยละ 10
Other พบร้อยละ 10
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล
Sperm dysfuntions พบร้อยละ 80
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรสูง
อายฝุ่ายชายอายุ˃ 55 ปี ขึน้ไปจะมีความผิดปกติ ของอสุจิมากขึ้น
อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดีและแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่ เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
นางสาวปิยณัฐ ชินนาผา เลขที่ 51 ห้อง A รหัสนักศึกษา 613601054