Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีทีความผิดปกติ ใน GI ที่รักษา ด้วยยา, image, image,…
การพยาบาลเด็กที่มีทีความผิดปกติ ใน GI
ที่รักษา ด้วยยา
Vomiting อาเจียน
การพยาบาล
ปม.ภาวะโภชนาการ สารน้ำในร่างกาย
สมดุลกรด ด่าง
อาการอ่อนเพลีย
ปัญหาทางจิตใจ
อาการ
กข.กับมื้ออาหารและเวลา
บรรเทาปวดด้วยอาเจียน ใน peptic
ulcer
อาเจียนพุ่ง ใน IICP
ลักษณะ(ดูด้วยว่าน้องกินอะไรมาก่อน)
เช่น เลือดสด (bright red)/ เก่า (coffee grounds) จน. สี กลิ่น
พบ skin turgor และ muscle tone
คือ
มักควบคู่กับ คลื่นไส้
ร่างกายเสียน้ำ และ อิเล็กโทรไลต์ metabolic alkalosis อ่อนเพลียไม่รู้สึกตัว เกิดสำลักได้
NAUSEA คลื่นไส้
เกิดก่อนอาเจียน จากการเพิ่มความดันใน ower esophagealsphincter = LES จนถึง Duodinum
เกิดต่อเนื่อง รึ เป็นพักๆ ไม่มีอาเจียนก็ได้
ร่วมกับ เป็นลม เพลีย น้ำลายมาก เหงื่อมาก
มักเกิดจากการระคายเคือง ติดเชื้อ ฉายแสง ยา หรือ Hor.
Constipation ท้องผูก
คือ
ลำไส้มีการเคลื่อนไหวลดลง
อาการ
อุจจาระแห้งแข็ง อัดแน่น
ถ่ายลำบากเวลาถ่ายใช้เวลาเบ่ง
ไม่ถ่าย <3 ครั้ง / wk
FECAL IMPACTION อุจจาระอัดแน่น
อุจจับกับเป็นก้อน ขับออกไม่ได้
พบในผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว สับสน
ปม.ได้ ไม่ถ่าย >2-3 วัน หรือมีอุจเล็ดออกมา
คลำบริเวณหน้าท้องด้านล่างซ้าย ได้ลำก้อนอุจจาระ
การพยาบาล
การล้วงเอาอุจจาระ (Evacuation
)
นอนท่า Sim’s position
ใช้นิ้วก้อย ทาวาสลีน
การให้ยา
ยาแก้ท้องเสีย
ยาแก้ท้องอืด
ยาระบาย ยาเหน็บ ยากิน
ไม่นิยมใช้ยาในเด็ก นิยมให้กินอาหารช่วยระบาย พวกรสเปรี้ยว ผักผลไม้
การสวนล้าง (Bowel irrigation)
เพื่อกต.ให้ลำไส้เคลื่อนไหว
มักใช้ NSS ในเด็ก ระวังใน Pt.โรคหัวใจ ไต
T 40.5 C
สอดสายลึก เด็กโต 2-3 นิ้ว เด็กเล็ก 1-1-5 นิ้ว
Diarrhea อุจจาระร่วง
คือ
ถ่ายเหลวเป็นน้ำ >3 ครั้งต่อวัน ถ่ายมูกเลือด อย่างน้อย 1 ครั้ง ถ่ายน้ำมาก 1 ครั้งขึ้นไปต่อวัน
ชนิด
เฉียบพลัน หายใน 7วัน
ยืดเยื้อ นานเกิน 14วัน
เรื้องรัง มักมาจากการกินนม ไม่ให้กินนมถั่วเหลือง ควรกินนมไก้ รึ นมแพะ
สาเหตุ
Vibrio cholera
น้ำซาวข้าว แรงเร็ว
Salmonella
ไข่เน่า ถ่ายเหลือง
Shigella
เหม็นหัวกุ้งเน่า
ถ่ายนิดแต่บ่อย
ขาดเอนไซม์และน้ำย่อย คือ แลคเตส
E. coli
ไข้
ถ่ายปนเลือด
การดูดซึมบกพร่อง
Rota virus
พบในเด็ก 6-24เดือน
ไข้
ถ่ายฟอง เหม็นเปรี้ยว
อาการ
เกิดจากอาหาร ร่วงไม่รุนแรง แต่อาเจียนรุนแรง ปวดท้องแบบตะคริว
โรคบิด หรือ dyscenteric diarrhea ไข้ >38 ถ่ายเหลวเขียว
แพ้นมวัว CMPA ถ่ายสัมพันธ์กับ change นม
Dehydration อาการขาดน้ำ
Mild
ขาดน้ำ <5%
เด็กปกติ แต่ท้องเสีย
เด็กปกติ แต่ท้องเสีย Capillary refill < 2 วิ
กิน ORS 50 cc/kg/day
Moderate
ขาดน้ำ 5-9%
กระหม่อมหน้าบุ๋มเล็กน้อย
Capillary refill 2-3 วิ
กิน ORS 100 cc/kg/day
Severe
ขาดน้ำ >10%
กระหม่อมหน้าบุ๋มมาก ร้องไห้ไม่มีน้ำตา ตาลึกโบ๋
Capillary refill 3-4 วิ
ให้สารน้ำ Isotonic ทาง IV ฟื้นให้กิน ORS 100 cc/kg/day
วิธีคำนวณภาวะขาดน้ำ
นน.ที่หายไป * 100 / นน.เริ่มแรก
ภาวะแทรกซ้อน
ขาดน้ำและอาหาร
ติดเชื้อ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Metabolic acidosis ร่างกายเป็นกรด
การรักษา
วิธีการให้กิน ORS แบ่งเป็นมื้อ อย่างละครึ่งกับนม เช่น เด็กกินนม 10 มื้อ แบ่งเป็น นม5 ORS 5(ไม่ผสมกัน)
ป้องกันและรักษาขาดน้ำ
ป้องกันทุพโภชนาการ ให้สารน้ำและอาหาร
ให้ยาต้านถ่าย และ Antibiotic
คำนึงถึงความสะอาด
ตรวจวินิจฉัย
Stool examination, Rectal swab culture(ต้อง sterile )
มี Skin turgor ริมฝีปากแห้ง
Gastroenteritis กระเพาะอาหหารและลำไส้อักเสบ
สาเหตุ
Rota virus
ทำให้ เยื่อบุลำไส้บวม
อาการ
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
ปวดท้องรุนแรง N/V
ไข้ หนาวสั่น
คือ
ความผิดปกติ ของกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ
การรักษา
รักษาและป้องกันภาวะขาดน้ำ
ให้ยาลดไข้ เมื่อมีไข้
ปกติไม่ใช้ ยาต้านจุลชีพ เว้นในเด็กภูมิต่ำ แรกเกิด และSepticemia
Gastritis
กระเพาะอาหารอักเสบ
อาการ
ปวดท้อง ใต้ลิ้นปี่
ท้องอืด แน่นท้อง V/N
ถ่ายเลือด หรือ ถ่ายสีดำ
ตรวจวินิจฉัย
ดูประวัติการได้รับยา
สาเหตุ
ส่วนมากมักเกิดจากอาหาร เช่น ของดอง
กินไม่ตรงเวลา
เชื้อ H. pylori
การได้รับยา เช่น NSAIDS ยาต้านอักเสบ
การรักษา
ติดเชื้อ ให้ Antibiotic
เปลี่ยนยา ถ้าเกิดจากยากลุ่ม NSAIDS
ให้ยาลดกรด ยาเคลือบกระเพาะ
คือ
เกิดการอักเสบ บวม แดง ของเยื่อเมือกบุ ภายในกระเพาะอาหาร
มีเฉียบพลัน และเรื้อรัง
รักษาภายใน 1-3 wk