Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีจริยธรรม หลักจริยธรรมในวิชาชีพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีจริยธรรม
หลักจริยธรรมในวิชาชีพ
นักทฤษฎีจริยธรรม
Socrates
ชอบแสวงหาความรู้ทางปัญญา
สนทนาแบบ Dialectic
การโต้แย้งทางความคิด โดยการใช้ความรู้
โต้แย้งทางความคิด มีเหตุผล
ความรู้ที่แท้จริงเกิดจากการไตร่ตรองทางปัญญาไม่ใช่ประสบการณ์
ต้องไปหาความรู้และทำในสิ่งที่ถูกต้อง
จะสามารถพัฒนาจิตใจตนเองให้ไม่มีกิเลส
เริ่มต้นที่ตนเองก่อนโดยใช้การไต่ตรองทางปัญญา ให้สามรถพัฒนาตนเองได้ดีขึ้น จึงหาแนวทางการแก้ไขได้
ความรู้คู่คุณธรรม
Plato
ความจริง 3 ลักษณะ
Subjective reality
ความจริงระดับส่วนตัว
ความจริงเฉพาะผู้ที่รู้ ผู้ที่คิด
Objective reality
ความจริงระดับวัตถุวิสัย
ความจริงที่ไม่ถาวร
The absolute reality
ความจริงสูงสุดที่มนุษย์ใช้ปัญญาไตร่ตรอง
เป็นความดี
ความจริงที่เข้าถึงปัญญา แสวงหาความจริงแก้ปัญหา
คุณธรรมเป็น 2 ระดับ
ระดับสังคม
ระดับปรัชญา
ปรัชญาจิตนิยม
เชื่อว่ามีวิญญาณ 3 สิ่งที่ควบคุมร่างกาย
ระดับต่ำ
ต่ำกว่าท้องลงไป
ทำอะไรตามใจตนเอง
สนองความต้องการตนเองเท่านั้น
ระดับกลาง
บริเวณทรวงอก
เรื่องของจิตใจ
รักในเกียรติ
อดทนเข้มแข็ง
ระดับของผู้เสียสละ
ระดับสูง
บริเวณศีรษะ
ใช้ปัญญาในการวิเคราะห์
ปราดเปรื่อง เข้าใจขึ้น
Academy
ตั้งสำนักการศึกษาขึ้นเพื่อศึกษา
Aristotle
มีความเชื่อ
แนวคิดเกี่ยวกับโลกและจักรวาล
โลกแห่งวัตถุ หรือโลกแห่งสิ่งที่เป็นรูปธรรม
ปรัชญาสัจนิยม (Realism)
การกระทำของมนุษย์มีเป้าหมาย
ความจริงมี 5 ระดับ
ความรู้จากประสาทสัมผัส
ความรู้จากจินตนาการ
ความรู้จากความทรงจำ
ความรู้จากการระลึกได้
ความรู้จากการใช้ปัญญาและเหตุผล
ทฤษฎีจริยธรรม
Traditional theories : Good outcome/Good intent
Teleological therapy:ประโยชน์นิยม
มุ่งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ทฤษฎีที่เหมาะกับแพทย์ พยาบาล
ทำดีโดยใช้มาตรฐานตามวิชาชีพ
Deontological theory:กรณียกรรม
มุ่งมั่นที่เป็นฐาน
เชื่อว่ามนุษย์มีคุณสมบัติพิเศษคือ
ปรีชาญาณ(Wisdom)
ยึดหลักอิสระในการตัดสินใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจและยอมรับการตัดสินใจ
มุ่งความมีปัญญาและเหตุผลเป็นพิเศษ
Virtue theories : ทฤษฎีคุณธรรม
Component มุ่งเน้นด้านคุณธรรม
ทำอะไรโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
ทำโดยไม่มีใครรู้(ว่าเราทำอะไร)
แม่ชีเเทอรีซ่า
เกี่ยวข้องกับวิชาชีพพยาบาล
ไม่ได้มุ่งเน้นภาพลักษณ์ภายนอกแต่อย่างใด
มุ่งเน้นภาพลักษณ์ภายใน
มีลักษณะของความเมตตา
มีลักษณะความกรุณาปรานี
มีลักษณะจิตใจดี
Kohlberg’s Theory of moral development
ทฤษฎีพัฒนากรทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการการใช้เหตุผล
ทฤษฎีปัญญานิยม
เป็นไปตามวุฒิภาวะของบุคคลตามอายุ
สัมพันธ์กับระดับสติปัญญา ระดับการศึกษา
เชื่อว่าการวัดพัฒนาการทางจริยธรรมนั้นต้องใช้การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
ขั้นพัฒนาการทางจริยธรรม
Preconventional morality
ระดับก่อนกฎเกณฑ์
การตัดสินใจเลือกกระทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึงผลที่เกิดแก่ผู้อื่น
ขั้นที่1 ใช้หลักการหลบหนีการลงโทษ (2-7ปี)
เด็กมักจะหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ
เลือกกระทำในสิ่งที่เกิดประโยชน์แก่ตนเองมากกว่า
เด็กมักเข้าใจว่าความดี คือสิ่งที่ไม่ถูกลงโทษหรือตำหนิ เช่น เด็กทำการบ้าน เพราะกลัวครูลงโทษ
มองที่ผลการกระทำถ้าเสียหายก็จะตัดสินว่าการกระทำนั้นผิด ไม่ได้มองที่สาเหตุการกระทำ
ขั้นที่ 2 ใช้หลักการแสวงหารางวัล (7-10ปี)
เน้นความสำคัญของการได้รับรางวัลคำชมเชย
การสัญญาจะให้รางวัลเป็นแรงจูงใจให้เด็กกระทำดีมากกว่าดุหรือลงโทษ
Conventional morality
ระดับตามกฎเกณฑ์
การทำตามกฎเกณฑ์ของกลุ่มย่อยๆของตนหรือตามกฎหมายและศาสนา มีการควบคุมจากภายนอก
ขั้นที่ 3 ใช้หลักการกระทำที่คนอื่นเห็นว่าดี(10-13ปี)
ขั้นนี้ตรงกับวัยที่เด็กย่างเข้าวัยรุ่น
เด็กจะให้ความสําคัญแก่กลุ่มเพื่อนมาก จะกระทำเพื่อให้กลุ่มเพื่อนยอมรับ
มีการเลียนแบบที่ตนเห็นว่าดีงาม
จะทำตามในสิ่งที่ตนตัดสินว่าคนอื่นจะเห็นด้วยหรือยอมรับเพื่อให้เป็นที่ชอบพอและเป็นที่ยอมรับ
เน้นหนักในด้านการทำตามคนอื่นมากกว่าการคำนึงเรื่องการลงโทษและการต้องการรางวัล
ขั้นที่ 4 ใช้หลักการกระทำตามหน้าที่ (13-16ปี)
มีความรู้และประสบการณ์ว่าแต่ละกลุ่มจะมีกฎเกณฑ์ให้สมาชิกยึดถือ
มีความเข้าใจหน้าที่ตนในกลุ่ม
มีศรัทำในกฎเกณฑ์ของกลุ่มมากพอสมควร
เข้าใจในบทบาทของผู้อื่น
การกระทำที่ถูกต้องจะต้องพิจารณาเพื่อกลุ่มหรือส่วนรวม
เน้นการกระทำตามหมู่คณะ ขนบธรรมเนียมประเพณีมากกว่ากลัวการลงโทษการต้องการรางวัลหรือการตามกลุ่มเพื่อน
Post conventional morality
ระดับเหนือกฎเกณฑ์
การตัดสินใจข้อขัดแย้งต่างๆด้วยการตริตรองด้วยตนเอง และตัดสินไปตามความสำคัญของสิ่งใดมากกว่ากัน
ขั้นที่ 5 ใช้หลักการเคารพตนเองหรือการทำตามคำมั่นสัญญา (16 ปีขึ้นไป)
บุคคลพยายามกระทำเพื่อหลบหนีไม่ให้ถูกตราหน้าว่าเป็นคนขาดเหตุผล คนไม่แน่นอน
การกระทำที่เคารพตนเองและการให้ผู้อื่นเคารพตนเ
บุคคลมีอุดมคติหรือคุณธรรมประจำใจ หรือสัญญา
ไม่พยายามลิดรอนสิทธิผู้อื่น
เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน
ขั้นที่ 6 ใช้หลักอุดมคติสากล
ละอายใจต่อบาปที่ไม่มีคนเห็น
เกรงกลัวบาป
เป็นบุคคลที่มีการเสียสละเพื่อสังคมอย่างแท้จริง เช่น มหาตมะคานธี มหาบุรุษของอินเดีย
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของกิลลิแกน
Gilligan’s Alternative Model
ศึกษาจริยธรรมของผู้หญิงตั้งครรภ์ เป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 ปฏิบัติเพื่อความอยู่รอดของบุคคล
ความเห็นแก่ตัว (selfishment)
ความรับผิดชอบ (responsibility)
ระดับที่ 2 ความดีเกี่ยวข้องกับความเสียสละ
ความดี(goodness)
ความจริง(truth)
ระดับที่ 3 คุณธรรมถึงพร้อม ด้วยความสงบสุข
ขั้นสูงสุด
ทำให้คนมีความสุข
หลักจริยธรรมในวิชาชีพพยาบาล
Autonomy or self governing
เคารพความเป็นอิสระในความเชื่อส่วนบุคคล
สามารถให้ผู้ป่วยตัดสินใจ มีส่วนร่วมในการรักษา
Respect person
เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เข้าใจเป้าหมายของบุคคล
ทำความเข้าใจเป้าหมาย
เพื่อสามารถสร้างกำลังใจ ส่งเสริม ให้สำเร็จ
เข้าใจและใช้ทางเลือกที่ถูกต้อง
ความมีอิสระในสิ่งที่ถูก
ปัจจัยคุกคาม
ทีมสหวิชาชีพโดยการยัดเยียดความต้องการของตนเองให้ผู้ป่วย
Justice
อธิบายให้ข้อมูลที่เหมาะสม เพียงพอ เพื่อให้ผู้ป่วยตัดสินใจเองได้
ยึดหลักความยุติธรรม
ความเท่าเทียมแก่บุคคล
ให้บริการที่สอดคล้องกับการรักษา
ให้บริการที่สอดคล้องกับสิ่งที่ได้รับ
ให้บริการสอดคล้องกับความต้องการ
ให้บริการสอดคล้องกับสิทธิมนุษยชน
ให้บริการแก่บุคคลที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ
ให้สิ่งที่ดีที่สุดเท่าที่สามารถทำได้
Beneficence
การปฏิบัติตามมาตรฐานทางโรงพยาบาล
ส่งเสริมให้ปฏิบัติในสิ่งที่ดี
Adverse events
กระบวนการที่ไม่ดีเกิดจากการรักษา
ต้องนำสิ่งไม่ดีออกจากผู้ป่วย
ทำความสะอาดร่างกายโดยไม่รังเกียจ
ให้สิ่งที่ดีที่สุดในการรักษา
รักษาโดยไม่ใช้ข้อมูลทางวิชาการ
มีความรู้กับทัศนคติที่ดีโดยพิจารณาผลดีผลเสีย
Nonmaleficence
การปฏิบัติตามหน้าที่ การไม่ละเมิดสิทธิของผู้ป่วย
ไม่ทำอะไรที่เป็นอันตรายแก่ต่อผู้อื่น
Veracity or truthfulness
การบอกความจริง
การให้ข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริงตามระดับสถานภาพของเรา
การเขียนบันทึกทางการพยาบาลตามความเป็นจริงที่ให้การรักษา
Fidelity
การยึดมั่นในความซื่อสัตย์
การรักษาคำพูดต่อเพื่อนร่วมงาน
การกล้าบอกความจริง
Confidentiality
การรักษาความลับผู้ป่วย
ห้ามนำไปเปิดเผยเด็ดขาด
ยึดหลักสิทธิในการปกป้องสิทธิของผู้ป่วย
Standard of care
สิ่งที่เป็นหลักจริยธรรมในวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพ
ดูการดูแล/การพยาบาลที่เป็นไปตามมาตรฐาน
Right
สิทธิผู้ป่วย
ควบคุม
ยึดหลักเคารพต่อกฎระเบียบบ้านเมือง
ปฏิบัติตามกฎวิชาชีพ
อยู่ในขอบเขตวิชาชีพ
เฝ้าระวัง
เฝ้าระวังพฤติกรรมทางวิชาชีพให้ถูกต้อง
ส่งเสริมระบบ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เชิงสังคม
เชิงวิชาชีพ
เพิ่มศักยภาพ
Role model
เอาแบบอย่างที่ดี ที่ชอบ มาทำตาม