Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีจริยธรรม หลักจริยธรรมในวิชาชีพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีจริยธรรม
หลักจริยธรรมในวิชาชีพ
หลักจริยธรรมวิชาชีพพยาบาล
4.Nonmaleficence:การทำให้ไม่เกิดอันตรายแก่ผู้รับบริการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
2.การให้ข้อมูล
3.การเฝ้าระวังอันตรายที่อาจจะเกิดกับผู้ป่วย
1.ควรพูดคุยกับผู้ป่วย ซักประวัติให้ดี พิจารณาให้ได้
3.Beneficence:การปฏิบัติงานที่ดีตามมาตรฐานวิชาชีพ
2.ปกป้องต่อสิ่งที่ไม่ดี ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
3.พยาบาลต้องนำสิ่งที่ไม่ดีออกจากผู้ป่วย
1.ส่งเสริมในการปฏิบัติในสิ่งที่ดี
8.Standard of care:ทำงานตามมาตรฐานวิชาชีพ
ปฏิบัติงานโดยอยู่ยึดหลักวิชาชีพพยาบาลเสมอ
5.Veracity or truthfulness:การบอกความจริง
2.เขียนบันทึกการพยาบาลตามความเป็นจริง
3.พยาบาลควรมีบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือ และไว้วางใจได้
1.ให้ข้อมูลผู้ป่วยอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
6.Fidelity:การยึดมั่นในความซื่อสัตย์
1.ต้องรักษาสัญญาคำพูดที่ให้ไว้กับผู้ป่วย
2.การบอกความจริงในสิ่งที่ได้ทำผิด
2.Justice:ความยุติธรรม
3.ให้บริการที่ตรงกับความเจ็บป่วย
4.ให้บริการที่สอดคล้องกับความสนันสนุนแก่สังคม
2.ให้บริการด้านการเจ็บป่วย
5.ให้บริการที่สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
6.ให้บริการแก่บุคคลที่สามารถจะก่อให้เกิดความสำเร็จได้
1.ให้ความเสมอภาค ความเท่าเทียมกัน
7.ให้สิ่งที่ดีที่สุดที่พยาบาลจะทำได้แก่ผู้ป่วย
7.Confidentiality:การรักษาความลับของผู้ป่วย
1.การไม่ความลับของผู้ป่วยไปเปิดเผยแก่ผู้อื่น
2.ต้องยึดหลักสิทธิมนุษยชน
9.Right
พยาบาลพึงร่วมในการทำความเจริญก้าวหน้าแก่วิชาชีพพยาบาล เช่น การปกป้องสิทธิผู้ป่วยตามหลักวิชาชีพ
1.Autonomy or self governing
3.พยาบาลต้องมีการตัดสินใจ ร่วมกันวางแผนกับทางญาติและตัวผู้ป่วย
4.ให้อิสระผู้ป่วยในการเลือก โดยให้ข้อมูล ความรู้แก่ผู้ป่วย
2.พยาบาลต้องเข้าใจเป้าหมายของแต่ละบุคคล
ปัจจัยคุกคาม
อาจเกิดจากบุคลากรทางการแพทย์ ดังนั้นพยาบาลควรรับฟังและให้อิสระในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
1.พยาบาลต้องเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ในแต่ความเฉพาะของบุคคลก็ไม่เท่ากัน
นักทฤษฎีจริยธรรม
2.Plato
ความจริง 3 ลักษณะ
2.Objective reality
ความจริงที่ไม่ถาวร เช่น ความจริงที่เป็นจริง กำลังทำอยู่
3.The absolute reality
ความจริงสูงสุดของมนุษย์ เช่น ความจริงที่เข้าถึงด้วยปัญญา
1.Subjective reality
ความจริงเฉพาะบุคคล เช่น การสำรวจตนเอง
คุณธรรม 2 ระดับ
ระดับปรัชญา
วิญญาณระดับสูง
ระดับสังคม
วิญญาณระดับต่ำ,ปานกลาง
นักปรัชญาจิตนิยที่จัดตั้งสำนักการศึกษาปรัชญา
ร่างกายและวิญญาณต้องสัมพันธ์กัน
วิญญาณ
ระดับปานกลาง
อยู่บริเวณทรวงอก คือ เป็นเรื่องเกี่ยวกับจิตใจ เช่น รู้สึกกล้าหาญ อดทน เสียสละตัวเอง
ระดับสูง
อยู่บริเวณศีรษะ คือ การแก้ไขปัญหาด้วยหลักเหตุและผล ควบคุมตัวเองได้
ระดับต่ำ
ต่ำกว่าระดับท้อง คือ จะทำตามใจตัวเอง
3.Aristotle
นักปรัชญาสัจนิยมที่เชื่อว่าการกระทำของมนุษย์มีเป้าหมาย
ความจริง 5 ระดับ
2.ความรู้จากจินตนาการ
3.ความรู้จากความทรงจำ
1.ความรู้จากประสาทสัมผัส
4.ความรู้จากการระลึกได้
5.ความรู้จากการใช้ปัญญาและเหตุผล ซึ่งเป็นระดับที่สำคัญมาก
1.Socrates
เชื่อถึงการสนทนาแบบ Dialectic
ความรู้ต้องควบคู่กับคุณธรรม ไม่ควรทำสิ่งที่ผิด
ทุกคนต้องแสวงหาความรู้ และสำรวจตนเองก่อน แสวงหาแนวทางการแก้ไข เพื่อพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น
ความรู้ที่แท้จริงเกิดจากปัญญา ต้องแสวงหาข้อมูล
ทฤษฎีจริยธรรม
2.Virtue Theories
ทฤษฎีคุณธรรมโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ของอริสโตเติล
ไม่มุ่งเน้นภาพลักษณ์ภายนอก เน้นภาพลักณ์ภายใน
เป็นลักษณะที่บ่งบอกถึงการเป็นพยาบาลอย่างชัดเจน เช่น มีความเมตตา เสียสละ
แม่ชีเทอรีซ่า ก็นำเอาแนวคิดนี้ไปใช้ โดยเขาจะอุทิศตนไปเยี่ยมผู้ป่วยด้วยความสมัครใจ
3.ทฤษฎีพัฒนาการให้เหตุผลทางจริยธรรม
ของโคลเบอร์ก(Kohlberg’s Moral Development)
Preconventional morality:ระดับก่อนกฎเกณฑ์ (ช่วง 2-10 ปี)
ขั้นที่1:การมุ่งหลีกหนีไม่ให้ตนเองถูกลงโทษ (อยู่ในช่วงแรกเกิด-7 ปี)
ขั้นที่2:การต้องการคำชมเชยและรางวัล (อยู่ในช่วง7-10 ปี)
เป็นการตัดสินใจเลือกกระทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึงผลที่เกิดแก่ผู้อื่น
.Conventional morality:ระดับกฎเกณฑ์ (ช่วง 10-16ปี)
ขั้นที่4:การกระทำตามหน้าที่ในหมู่คณะ หรือระเบียบทางสังคม(อยู่ในช่วง13-16ปี)
ขั้นที่3:การที่วัยรุ่นให้ความสำคัญแก่กลุ่มเพื่อนมาก และทำตามเพื่อน(อยู่ในช่วง10-13 ปี)
เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงการพัฒนาที่เป็นไปตามวุฒิภาวะของบุคคลและสัมพันธ์กับสติปัญญา โดยยึดหลักการเท่าเทียมกัน
Post conventional morality:ระดับหลังกฎเกณฑ์(16 ปีขึ้นไป)
ขั้นที่5:การเคารพในอุดมคติของตนเองหรือการทำตามคำมั่นสัญญาที่ให้ไว้กับผู้อื่น(อายุตั้งแต่16ปีขึ้นไป)
ขั้นที่6:มีคุณธรรมสูง ใช้หลักอุดมคติ มีความละอายใจตนเองในการทำชั่วหรือเกรงกลัวต่อบาป
1.Traditional theories : Good outcome/Good intent
Teleological theory:ประโยชน์นิยม
มุ่งผลลัพธ์ที่จะเกิดประโยชน์แก่ผู้ป่วย
เป็นทฤษฎีดั้งเดิม ที่เชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม จริยธรรมว่าคืออะไร
Deontological theory :กรณียธรรม
มุ่งหน้าที่เป็นฐาน เชื่อว่ามนุษย์มีคุณสมบัติพิเศษคือความมีอิสระในการตัดสินใจ โดยต้องเข้าใจหลักคุณธรรม จริยธรรม เคารพความเป็นบุคคล ใช้ปัญญาและเหตุผล พฤติกรรมที่แสดงออกมาจะแปรผลตรงกับผลลัพธ์ที่ออกมา
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของกิลลิแกน(Gilligan’s Alternative Mode)
ระดับที่ 3:คุณธรรม จริยธรรมขั้นสูงสุด เช่นเราเป็นพยาบาล ต้องเสียสละตัวเองเพื่อดูแลคนในสังคม
ระดับที่ 2:ความดีที่เกี่ยวข้องกับความเสียสละ
ระดับที่ 1:การปฏิบัติเพื่อ
ความอยู่รอดของบุคคล