Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาร…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบหายใจ
ระบบที่ร่างกายแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยร่างกายจะรับแก๊ส ออกซิเจนที่อยู่ภายนอกเข้าสู่ร่างกาย และขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออก จากร่างกาย
ทำความรู้จักอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนบน
คอหอย (Pharynx) เป็นหลอดตรงยาวที่เชื่อมต่อกันระหว่างช่อง จมูกและช่องปาก โดยมีเพดานอ่อนเป็นตัวกั้น คอหอยเป็นทางผ่าน ของทั้งอาหารและอากาศ และยังเกี่ยวข้องกับการออกเสียงด้วย
จมูก (Nose) เป็นทางผ่านด่านแรกของอากาศที่หายใจเข้าไป ภายในจมูกจะมีขนขนาดเล็ก และเยื่อเมือกหนาๆ ที่ช่วยกรองฝุ่น ละออง และดักจับเชื้อโรค นอกจากนี้ยังมีเส้นประสาทรับกลิ่นอีกด้วย
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนล่าง
หลอดลมปอด (Bronchi) ซึ่งแตกแขนงจาก หลอดลมใหญ่ไปสู่ปอดทั้งซ้ายและขวา
หลอดลมฝอย (Bronchiole) ซึ่งเป็นแขนงเล็กๆ แยกย่อยไปยังถุงลมในปอดอีกทีหนึ่ง
หลอดลม (Trachea) เป็นท่อที่ต่อมาจากคอ หอยและกล่องเสียงลงไปสู่ปอด หลอดลมมี ลักษณะเป็นหลอดกลมๆ
ปอด (Lung) ตั้งอยู่ที่ 2 ข้างของช่องทรวงอก ฐาน ปอดจะแนบสนิทกับกะบังลม และมีหัวใจอยู่ตรงกลาง ระหว่างปอด 2 ข้าง ภายในปอดประกอบด้วยถุงลม ขนาดเล็กที่ยืดหยุ่นจ านวนมาก ซึ่งมีหน้าที่แลกเปลี่ยน ก๊าซ โดยจะเติมออกซิเจนเข้าสู่หลอดเลือด
กะบังลม (Diaphragm) เป็นแผ่นกล้ามเนื้อด้านล่าง กระดูกซี่โครง ที่แบ่งช่องอกออกจากช่องท้อง ซึ่งการ หดและคลายตัวของกะบังลมนั้นมีผลต่อการควบคุม การหายใจเข้าออก
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
หายใจติดขัด
คัดจมูก
ไอจามเล็กๆ น้อยๆ
อาการรุนแรงอย่างหายใจไม่ออก
มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด
การดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้รับออกซิเจน
การจัดท่า
การสอนเทคนคิการหายใจ
2.2 การผ่อนลมหายใจออกทางปาก
2.3 การหายใจโดยใช้กล้ามเนอื้กระบังลม
2.1 การหายใจเข้า-ออกลึกๆ
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
การให้ออกซิเจน
4.1 แหล่งออกซิเจน
4.2. เครื่องทำความชื้น
4.3 อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
ชนิดสายยางเข้าจมกู (nasal cannula)
ชนิดหน้ากากออกซเิจน (simple mask)
ชนิดหนา้กากออกซิเจนพรอ้มถุงเกบ็ออกซิเจน (reservior mask)
ชนิดหนา้กากออกซิเจนทตี่่อกบัลิ้นที่มีช่องระบาย อากาศ(venturi mask)
ชนิดกระโจม (oxygen tent)
ชนิดครอบทอ่เจาะคอ (tracheostomy collar)
การขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ
5.2 ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำ
5.3 การพ่นละอองฝอย
5.1 การไออย่างมีประสิทธิภาพ
5.4 การเคาะปอด
5.5 การดูดเสมหะ
สำหรับข้อบ่งชี้ในการดูดเสมหะ
อุปกรณส์า หรับการดูดเสมหะ
สายดูดเสมหะปราศจากเชื้อ
การคงไวซึ่งสภาพทางเดินหายใจที่โล่ง
6.1 Oral nasal pharyngeal airway
6.2 ท่อหลอดลมคอ (endotracheal tube)
6.3 ท่อเจาะหลอดลมคอ (tracheostomy tube)
การดูแล
โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบอ่ย
โรคที่เกดิจากการติดเชื้อ
โรคหวัด เกิดได้จากเชื้อไวรัสหลายชนิด ท าให้มีอาการ คัดจมูก น้ ามูกไหล ซึ่งมักหายได้เองภายใน 1 สัปดาห์
ปอดอกัเสบ หรือปอดบวม มักเกิดจากการติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา อาการที่พบคือมีไข้สูง หอบ เหนื่อย เจ็บหน้าอก อาจพบฝีในปอด และน้ าคั่งในปอด ด้วย
คออกัเสบ เกิดได้ทั้งจากเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย อาการที่ เด่นชัดคือ เจ็บคอ ไอ และอาจมีไข้ในบางครั้ง
วัณโรค เกิดจากแบคทีเรียไมโคแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium tuberculosis) มักพบอาการ ไอเรื้อรัง เสมหะเป็นเลือด เจ็บหน้าอก มีไข้ อ่อนเพลีย และน้ าหนักลด
โรคที่เกดิจากสาเหตุออื่น
โรคภมูแิพ้ เกิดจากการตอบสนองของภูมิคุ้มกันจากการ ได้รับสิ่งกระตุ้น ทำให้มีอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ไอจาม และอาจเกิดอาการกับระบบอื่นๆ ด้วย
หอบหืด เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลอดลม เป็น ผลให้หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก และหายใจมีเสียงวี๊ดๆ
ถุงลมโปง่พอง เกิดจากการอักเสบของถูกลมปอดจนพอง และแตกออก จนเกิดอาการไอเรื้อรังและหายใจตื้น ซึ่ง สาเหตุหลักนั้นมาจากการสูบบุหรี่
มะเร็งปอด มักเกิดจากการสูดดมควันบุหรี่ อาการใน ระยะแรกที่สังเกตได้คือ เจ็บหน้าอก ไอเรื้อรัง ไอเป็นเลือด เบื่ออาหาร และน้ าหนักลด