Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือ เด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ, นางสาวสิรินทิพย์…
การป้องกันและช่วยเหลือ
เด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
การพยาบาลเด็ก
ที่ได้รับสารพิษ
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ
เพ้อ ชัก หมดสติ
มีอัมพาตบางส่วน
หายใจขัด หายใจลำบาก
มีเสมหะ มีเขียวปลายมือปลายเท้า
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้อง น้ำลายฟูมปาก
ตัวเย็น เหงื่อออกมาก
มีผื่น จุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาล
ได้รับ ยาแก้ปวด ลดไข้
หูอื้อ เหงื่อออกมาก หายใจเร็ว
ใจสั่น ง่วงซึม สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
การปฐมพยาบาล
ทำให้อาเจียน
ให้สารดูดซับสารพิษ
ทำให้สารพิษเจือจาง
ได้รับสารพิษทาง
การหายใจ
ทำให้เกิดการระคายเคือง
ต่อระบบทางเดินหายใจ
ทำให้อันตรายทั่วร่างกาย เช่น แบตเตอรี่ เป็นต้น
จะทำให้เม็ดเลือดแดงแตก ปัสสาวะเป็นเลือด
ทำให้ร่างกายขาดออกซิเจน เกิดอาการ
วิงเวียน หน้ามืด เป็นลม หมดสติ
การปฐมพยาบาล
ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุ
ประเมินการหายใจและ
การเต้นของหัวใจ
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตู
หน้าต่าง เพื่อให้อากาศถ่ายเท
ได้รับสารพวกน้ำมัน
ปิโตรเลียม
แสบร้อนบริเวณปาก คลื่นไส้ อาเจียน
การปฐมพยาบาล
ห้ามทำให้อาเจียน
จัดศีรษะต่ำ เพื่อป้องกัน
การสำลักน้ำมันเข้าปอด
รีบนำส่งโรงพยาบาล
น้ำมันก๊าด เบนซิน
เมื่อสารเคมีถูกผิวหนัง
บรรเทาอาการปวด และรักษาช็อค
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน 15 นาที
ได้รับสารกัดเนื้อ
มีอาการ ไหม้พอง ร้อนบริเวณปาก/ฝีปาก
คลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้ำ ภาวะช็อก
การปฐมพยาบาล
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
กรด-ด่าง กรดซัลฟริก
สารเคมีในชีวิตประจำวัน
เมื่อสารเคมีเข้าตา
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวด และรักษาช็อค
ล้างด้วยน้ำนาน 15 นาที
ปิดตา แล้วนำส่งโรงพยาบาล
ได้รับสารพิษทางปาก
นำส่งโรงพยาบาล
ทำให้อาเจียน
ทำให้สารพิษเจือจาง ให้นม
ให้สารดูดซับสารพิษใน
ระบบทางเดินอาหาร
จำแนกตามลักษณะการออกฤทธ์
ชนิดทำให้ระคายเคือง
เกิดอาการปวดแสบ ปวดร้อน
และอักเสบในระยะต่อมา
ฟอสฟอรัส อาหารเป็นพิษ
สารหนู ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ชนิดที่กดระบบประสาท
ทำให้หมดสติ ปลุกไม่ตื่น ม่านตาหดเล็ก
ฝิ่น มอร์ฟิน
พิษจากงูบางชนิด
ชนิดกัดเนื้อ
ทำให้เนื้อเยื่อไหม้ พอง
สารละลายพวก กรด-ด่าง
เข้มข้น น้ำยาฟอกขาว
ชนิดกระตุ้นระบบประสาท
อาการเพ้อคลั่ง ใบหน้าและผิวหนังแดง
ชีพจรเต้นเร็ว ช่องม่านตาขยาย
ยาอะโทรปีน ลำโพง
การพยาบาลเด็กไฟไหม้
น้ำร้อนลวก
การติดเชื้อ
บาดแผลระดับที่ 2 มีขนาดมากกว่า 30%
บาดแผลระดับที่ 3 มีขนาดมากกว่า 10% เป็นแผลรุนแรง
สาเหตุ
น้ำมันร้อนๆ
กระแสไฟฟ้า
น้ำร้อน
สารเคมี
วัตถุที่ร้อน
รังสี
ไฟ
อาการ
ตำแหน่ง
บาดแผลที่เกิดบริเวณข้อพับต่างๆ
อาจทำให้มีแผลดึงรั้ง ทำให้เหยียดออกไม่ได้
ความลึก
ผิวหนัง
หนังกำพร้า
หนังแท้
แบ่งบาดแผล
ระดับที่ 2
บาดแผลระดับที่ 2 ชนิดตื้น
มีการทำลายของหนังกำพร้าทั้งชั้นผิวนอก
และชั้นในสุด หนังแท้ส่วนที่อยู่ตื้นๆใต้หนังกำพร้า
มักไม่ทำให้เกิดแผลเป็น พุพองเป็นตุ้มน้ำใส
บาดแผลระดับที่ 2 ชนิดลึก
ทำลายหนังแท้ส่วนลึก
มีตุ่มพอง แผลเป็นสีเหลืองขาว แห้ง
ไม่ค่อยปวด มีโอกาสเกิดแผลเป็นน้อย
ระดับที่ 3
ทำลายหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด
รวมทั้งต่อมเหงื่อ ขุมขน และเซลล์ประสาท
อาจกินลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผล
เนื่องจากเส้นประสาทบริเวณผิวหนังแท้
ถูกทำลาย มีโอกาสเกิดแผลหดรั้ง
ระดับที่ 1
ทำลายผิวหนังชั้นนอกเท่านั้น
หนังกำพร้าชั้นในยังไม่ถูกทำลาย
ไม่ทำให้เกิดแผลเป็น
มีโอกาสหายสนิทได้
ความกว้าง
บาดแผลที่มีขนาดใหญ่ อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ
โปรตีน และเกลือแร่ ถึงกับเกิดภาวะช็อก และมีโอกาสติดเชื้อ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะทาเฉพาะที่
Silver sulfadiazine
มีกฤทธิ์กว้าง
ภาวะแทรกซ้อนในระยะ 2-3 วันแรก
ภาวะขาดน้ำและช็อก
การพยาบาล
แผลที่เป็นตุ่มน้ำใส ไม่ควรเอาเข็มไปเจาะ
เพื่อระบายเอาน้ำออก อาจติดเชื้อหรืออักเสบได้
ถ้าบาดแผลมีขนาดกว้าง อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะช็อก
หรือผู้ป่วยหายใจได้ลำบาก ควรรีบนำส่งโรงพยาบาล
ล้างแผลหรือแช่แผลด้วยน้ำสะอาด
ใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
การพยาบาล
เด็กกระดูกหัก
การพยาบาลกระดูกหัก
ถ้ามีเลือดออกให้ทำการห้ามเลือดก่อน
ดามกระดูกที่หัก
ทำการปฐมพยาบาลด้วยวิธีซีพีอาร์
ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล
ประเมินบริเวณที่บาดเจ็บ
หากมีเลือดให้
ห้ามเลือดก่อนเสมอ
ส่วนที่หักเป็นปลายแขนหรือมือ
ให้ใช้ผ้าคลองคอ
กระดูกหักบริเวณขาส่วนบน กระดูกสันหลัง
ศีรษะหรือคอ อุ้งเชิงกรานหรือสะโพก
ไม่ควรเคลื่อนไหวร่างกาย
งดให้ผู้ป่วยดื่มน้ำหรืออาหาร
เนื่องจากอาจต้องผ่าตัด
อย่าพยายามดึงข้อ หรือ
จัดกระดูกให้เข้าที่ด้วยตัวเอง
ถ้าเลือดไม่หยุดไหล ให้หาสายรัด
รัดเหนือบาดแผล คลาสสายทุก 15 นาที
คลายนานครั้งละ 30-60 วินาที
ถ้ากระดูกหักโผล่ออกมานอกเนื้อ
ห้ามดึงกระดูกให้กลับเข้าที่
ส่วนที่หักที่นิ้วมือ ให้ใช้ไม้ไอศกรีม
ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล
การดามกระดูกชั่วคราวแบบง่ายๆ
หลังการใส่เฝือก
หากมีวัตถุแปลกปลอมเข้าไปในเฝือก
ให้รีบไปพบแพทย์
มีอาการปวดรู้สึกคับ ให้ยกเท้าสูง ประคบเย็น
แบ่งตามบาดแผล
กระดูกหักยุบเข้าหากัน
ภาวะที่กระดูกทั้ง 2 ด้านได้รับแรงกด
ส่งผลให้กระดูกแตกทั้ง 2 ด้าน
กระดูกเดาะ
กระดูกที่แตกเพียงด้านเดียว
ส่วนกระดูกอีกด้านโก่งไปตามแรงกดที่ปะทะมา
กระดูกหักทั่วไป
กระดูกที่แตกออกเป็น 2 ชิ้น
กระดูกหักแบบแผลเปิด
/แผลลึกถึงกระดูกหัก
มีบาดแผลลึกถึงกระดูก หรือกระดูกที่หัก
อาจทิ่มแทงทะลุเนื้อ เป็นชนิดร้ายแรง
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล
/แผลไม่ถึงกระดูกหัก
มีกระดูกอย่างเดียว ไม่มีแผลที่ผิวหนัง
กระดูกไม่โผล่ออกมานอกผิว
หมายถึง
การมีรอยแตก รอยแยก
ก่อให้เกิดอาการเจ็บปวด
บวม เคลื่อนไหวไม่ได้
มักเกิดจากอุบัติเหตุที่
มีแรงมากระทำมาก
การพยาบาลเด็ก
สำลักสิ่งแปลกปลอม
การช่วยเหลือ
กรณีเด็กอายุมากกว่า 1 ปี
กดซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
หากเด็กหมดสติ ให้ประเมินการหายใจ การเต้นชีพจร
ให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการกดท้อง
มีอาการหนักอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ซีด เขียว เป็นต้น
ให้ทำการกดท้อง โดยให้ผู้ช่วยยืนด้านหลังอ้อมแขนมาด้านหน้า
กำมือเป็นกำปั้น วางบนกึ่งกลางหน้าท้องเหนือสะดือเด็ก
กดโดยให้แรงมีทิศทางเข้าด้านใน และเฉียงขึ้นบน
การกดท้องในเด็กหมดสติ จัดท่านอนราบ นั่งคร่อมตัวเด็ก
วางสันมือบนท้องตำแหน่งสูงกว่าสะดือ กดทิศทางเข้าด้านใน
และเฉียงขึ้น กด 5 ครั้ง เปิดปากสำรวจสิ่งแปลกปลอม
หลุดออกมาหรือไม่
กระตุ้นให้เด็กไอเอง
กรณีผู้ช่วยเหลือ 1 คน
เด็กโตและทารก การกดหน้าอกและการช่วยหายใจ 30:2
ความลึกและลักษณะการใช้มือกดจะต่างกัน
กรณีเด็กอายุน้อยกว่า 1 ขวบ
พลิกเด็กให้หงายบนแขนอีกข้างวางบนหน้าตัก
โดยให้ศีรษะอยู่ต่ำ แล้วกดหน้าอกโดยใช้ 2 นิ้ว
ของผู้ช่วย กดบนกระดูกหน้าอก ในตำแหน่งที่กว่าเส้นลาก
ระหว่างหัวนมทั้งสองข้างลงมา หนึ่งความกว้างนิ้วมือ
ทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
เคาะหลัง 5 ครั้งติดต่อกันโดยเคาะแถวๆ
กึ่งกลางระหว่างกระดูกสะบักทั้งสองข้าง
หากเด็กหมดสติ ให้ประเมินการหายใจ การเต้นชีพจร
และให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับกับการเคาะหลัง
และกดหน้าอก
วางเด็กคว่ำลงบนแขนและวางแขนนั้น
ลงบนตัก โดยให้ศีรษะของเด็กอยู่ต่ำ
กรณีผู้ช่วยเหลือ 2 คน ขึ้นไป
การกดหน้าอกและการช่วยหายใจ
สำหรับเด็กเด็กเท่ากับ 15:2
คำแนะนำ
ป้องกันการสำลัก
เลือกชนิดและขนาดของอาหารที่เหมาะสม
เพื่อป้องกันการสำลัก ไม่ควรป้อนอาหารขณะวิ่งเล่น
เลือกชนิด รูปร่างและขนาดของของเล่น
จัดเก็บสิ่งของที่อาจเป็นอันตราย
ปัญหาหลังการสำลัก
เกิดการอุดกั้นหลอดลมส่วนปลาย
ทำให้เกิดภาวะปอดแฟบ ปอดพอง หอบหืด
เกิดการอุดกั้นการระบายเสมหะในทางเดินหายใจ
ทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ เช่น ปอดอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้น
ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต
การพยาบาลเด็กจมน้ำ
การจมน้ำ
Salt-Water Drowning
ทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema
ปริมาตรน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง
เกิดภาวะ hypovolemia ระดับเกลือแร่ใน
ร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อก
Freshwater-Drowning
จะซึมผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตของปอด
เกิด hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือด
แดงแตก hemolysis
การพยาบาลเบื้องต้น
ไม่ถูกต้อง
อุ้มเด็กพาดบ่าแล้วเขย่า
กระทุ้งบริเวณหน้าท้อง
น้ำที่ออกมาจะเป็นน้ำในกระเพาะ
ไม่ใช่น้ำในปอดที่สำลักเข้าไป
อาจเกิดอาการช้ำจาก
แรงกระแทก
วิธีที่ดีที่สุด
กรณีเด็กรู้สึกตัว
รีบเช็ดตัว
ใช้ผ้าคลุมตัว เพื่อทำให้เกิดความอบอุ่น
เปลี่ยนเสื้อผ้า
จัดนอนท่าตะแคงกึ่งคว่ำ
รีบนำส่งโรงพยาบาล
กรณีเด็กหมดสติ
เช็กลมหายใจ
ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
โดยนวดหัวใจสลับ
กับการช่วยหายใจ
โทรเรียกหน่วยรถพยาบาล
Near-Drowning:จมน้ำ แต่ไม่ได้เสียชีวิต
ทันที บางรายเสียชีวิตต่อมาในช่วงเวลาสั้นๆ
Drowning: ผู้ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ
นางสาวสิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์
612001119
เลขที่ 38 รุ่น 36/2