Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน ในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะหลังคลอด
Postpartum Hemorrhage
อาการและอาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
โดยจะคลำพบระดับมดลูกอยู่สูงและขนาดโตขึ้น
หน้าซีด ตัวเย็น ชีพจรเร็ว เหงื่อออก อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย ถ้าเสียเลือดมากจะหนาวสั่น หายใจหอบ หมดสติและเสียชีวิตได้
อาการปวดท้องน้อย
พบได้ในรายที่มีมดลูกปลิ้น จะมีอาการปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง รู้สึกถ่วงใน
อุ้งเชิงกราน หรือมีก้อนจุกอยู่ที่ช่องคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอด
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
เลือดที่ออกจะเป็นสีแดงสด และหากมีการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยเลือดจะไหลซึมออกมาเรื่อยๆ
การมีเศษรกค้าง
แต่ถ้าเศษรกขนาดเล็กจะเกิดการตกเลือดในช่วง 6 - 10 วันหลังคลอด ซึ่งเลือดจะมีสีแดงคล้ำ
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
เลือดที่ออกจะเป็นสีคล้ าและมีลิ่มเลือดปน
มดลูกปลิ้น
พบว่ามีเลือดไหลพุ่งออกมาให้เห็นเป็นจำนวนมากอาจมีลิ่มเลือดสีคล้ำไหลออกมา
การมีเลือดคั่งใต้ผิวหนัง (hematoma)
และมีแรงกดอย่างรุนแรงใน 12 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ผิวหนังมีอาการบวม แดงออกสีม่วงคล้ำหรือสีดำคล้ำ รู้สึกปวดอย่างรุนแรงโดยไม่
สัมพันธ์กับการบาดเจ็บจากการคลอด มีแรงกดบนฝีเย็บ
ผลกระทบของการตกเลือดหลังคลอด
Sheehan’s syndrome
น้ำนมไม่ไหล เต้านมมีขนาดเล็กลง เต้านมเหี่ยว
ไม่มีขนบริเวณอวัยวะเพศและรักแร้อวัยวะสืบพันธุ์ฝ่อ อาจไม่มีประจำเดือนเลย
ส่งผลกระทบต่อการสร้างน้ำนมทำให้ล้มเหลวในการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
การฉีกขาดของช่องทางคลอดและมีการฉีกขาดใกล้เคียง
ทำให้ท่อปัสสาวะบวม
ถ่ายปัสสาวะไม่ได้และเมื่อกระเพาะปัสสาวะเต็มอาจขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกทำให้เสี่ยงต่อการตกเลือดซ้ำได้
hypovolemia
ไตล้มเหลวได้
ทำให้มีโอกาสติดเชื้อหลังคลอดได้ง่าย
ทำให้สัมพันธภาพกับบุตรในระยะหลังคลอดช้ากว่ามารดาที่มีการคลอดปกติ
การที่มารดาหลังคลอดมีเลือดออกทางช่องคลอดหลังคลอดทารกในปริมาณที่มากกว่า 500 มิลลิลิตร หรือมากกว่า 1,000 มิลลิลิตร ในมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (early postpartum hemorrhage)
สาเหตุสำคัญ
Tone
ภาวะที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (uterine atony)
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ทำให้ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
สาเหตุอื่นที่ขัดขวางการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
เนื้องอกที่ตัวมดลูก myoma
มดลูกปลิ้น inversion of the uterus
การมีแผลที่มดลูก
การตกเลือดก่อนคลอด
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การตั้งครรภ์และการคลอดบุตรมากกว่า 5 คน (grandmultipara)
การคลอดที่ไม่ปกติ
precipitate labor
prolonged labor
การได้รับยา
magnesium sulfate,terbutaline หรือ bricanyl
การได้รับยาที่ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีระหว่างการคลอด
เร่งคลอดแล้วหยุดยาเร็วเกินไป
การอักเสบติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
กล้ามเนื้มดลูกขยายมากเกินไป
polyhydraminos
marosoma
multifetal pregnancy
Trauma
ปัจจัยด้านทารก
ทารกตัวโต
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือมีส่วนนำผิดปกติ
ปัจจัยจากการคลอดและวิธีการทำคลอด
การคลอดเฉียบพลันทำให้ช่องทางคลอดปรับขยายตัวไม่ทันเกิดการฉีกขาด
การตัดฝีเย็บเร็วเกินไปอาจทำให้เสียเลือดมาก หรือการคลอดศีรษะและไหล่ไม่ถูกต้อง
ปัจจัยด้านมารดาหลังคลอด
แผลเก่าจากการตัดฝีเย็บ หรือ
การติดเชื้อของช่องทางคลอด
ความผิดปกติของช่องทางคลอดอ่อน
เกิดการฉีกขาด
Tissue
การมีรก หรือบางส่วนของเยื่อหุ้มทารกค้างในโพรงมดลูก
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
โดยการคลึงมดลูกก่อนที่รกลอกตัว
ทำให้ปากมดลูกหดเกร็ง (cervical cramp)เเละขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ความผิดปกติของรกหรือการฝังตัวของรก
รกมี infract มาก
ตำแหน่งที่รกเกาะมีขนาดใหญ่ผิดปกติ ซึ่งพบได้ในการตั้งครรภ์แฝด หรือรกน้อย
รกฝังตัวลึกและแน่นผิดปกติเป็นสาเหตุให้เกิดการเสียเลือดได้มากเนื่องจากรกเหล่านี้จะลอกตัวได้เพียงบางส่วน
Thrombin
DIC, โรคเลือด เช่น ITP, Aplastic anemia
การแข็งตัวของเลือดในผู้ที่มีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดเมื่อคลอดบุตร
การได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การตกเลือดหลังคลอดในภายหลัง (late postpartum hemorrhage)
สาเหตุสำคัญ
หมดลูกเข้าอู่ช้า
ภายหลังคลอด 5 สัปดาห์ไปแล้ว
เศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้าง
ส่วนใหญ่แล้วจะมีอาการเลือดออกหลังคลอดประมาณ 1 สัปดาห์
เลือดออกจากแผลในช่องทางคลอด
เกิดขึ้นได้จากการอักเสบติดเชื้อทำให้ลุกลาม
ส่วนมากเกิดขึ้นในระหว่างสัปดาห์ที่ 2 หลังคลอด
การติดเชื้อในโพรงมดลูก
ครรภ์ไข่ปลาอุก เนื้องอกของตัวมดลูก
การพยาบาลมารดาที่มีการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาลขณะที่มีการตกเลือดหลังคลอด
เพื่อให้ปลอดภัยจากภาวะช็อกดังนี้
จัดให้นอนหงายราบไม่หนุนหมอน อาจให้นอนตะแคงเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
งดน้ำและอาหารทางปาก
บันทึกปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดเเละ I/O
ตรวจวัดสัญญาณชีพจนกว่าจะอยู่ในระดับปกติ
IV
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ช่วยแก้ไขและให้การดูแลตามสาเหตุ
การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด เพราะสาเหตุส่วนใหญ่สามารถป้องกันได้ดังนี้
ระยะคลอด
เตรียมความพร้อมในรายที่มีปัจจัยเสี่ยง
ในผู้คลอดที่มีความเสี่ยงสูง
ควรNPO ให้IV
เลือดตรวจหาความเข้มข้นของเลือดหรือปริมาณเลือดของผู้คลอด
หลีกเลี่ยงหรือหาวิธีช่วยลดการเกิดปัจจัยเสี่ยงเช่น
การคลอดยาวนาน
การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกนานๆ
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
การให้ยาบรรเทาความเจ็บปวดในการคลอดมากเกินไป
ทำคลอดในระยะที่ 2 และ 3 ของการคลอดอย่างถูกต้อง
ไม่คลึงมดลูกก่อนรกลอกตัว
การป้องกันการตกเลือดในระยะที่ 3 ของการคลอดด้วย
Universal Active Management of Third Stage
of Labor (AMTSL) โดยใช้กับผู้คลอดทุกคน
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกทันทีหรือไม่เกิน 1 นาทีหลังทารกคลอด
2) ทำคลอดรกด้วยวิธี controlled cord traction
3) คลึงมดลูกทันทีหลังรกคลอด
หลังรกคลอดควรตรวจรกให้ครบถ้วน
คลึงมดลูกหลังรกคลอด
ตรวจช่องทางคลอด โดยเฉพาะในรายที่ใช้หัตถการช่วยคลอด
ระยะหลังคลอด
ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอดควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพราะเป็นระยะที่เกิดการตกเลือดหลัง
และตรวจสัญญาณชีพ
ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนอาการ stable
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างโดยกระตุ้นให้ขับถ่ายปัสสาวะ
แนะนำมารดาหลังคลอดให้ตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูกโดยการสอนวิธีการคลึงมดลูกให้กับ
มารดาหลังคลอด หากพบมดลูกนิ่มให้คลึงมดลูกจนกระทั่งมดลูกหดรัดตัวแข็งจึงหยุดคลึงมดลูก
ควรประเมินบริเวณช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บ
ทุก8HR
REEDA Scale
Edema คือ แผลมีลักษณะบวมหรือไม่
Ecchymosis คือ แผลมีรอย
ช้ำหรือจ้ำเลือดหรือไม่
Redness คือ
แผลมีลักษณะ แดงอักเสบหรือไม่
Discharge คือ แผลมีเลือด น้ำเหลืองหรือหนองซึมออกมาหรือไม่
Approximate คือ แผลฝีเย็บ ขอบเรียบชิดติดกันดีหรือไม่
ระยะตั้งครรภ์
แก้ไขปัญหาความเข้มข้นของเลือด
เม็ดเลือดต่ำ เนื่องจากมีความเสี่ยงสูงยิ่งขึ้นเมื่อมีการ
เสียเลือด ควรแก้ปัญหาภาวะซีดจากสาเหตุต่างๆ
ภาวะซีดหรือขาดสารอาหารต้องหาสาเหตุและให้การดูแลรักษาก่อนคลอด
ค้นหาปัจจัยเสี่ยงและความตระหนัก
ครรภ์แฝด ทารกตัวโตมาก เคยผ่าตัดคลอดทางหน้า
ท้อง เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดต่ำ
Hematoma
อาจมีสาเหตุดังนี้
เย็บซ่อมแซมบริเวณที่มีการฉีกขาดหรือที่ตัดฝีเย็บไม่ดี เช่น การเย็บที่ไม่ลึกถึงก้นแผล
คลึงมดลูกรุนแรง ทำให้เลือดคั่งใต้เยื่อบุช่องท้อง
บาดเจ็บจากการคลอดอาจเกิดได้ทั้งในรายที่คลอดปกติหรือคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
อาการและอาการแสดง
จะมีอาการปวดบริเวณที่มีก้อนเลือดคั่งชัดเจน
ก้อนเลือดมีลักษณะสีแดงออกม่วงคล้ำ
ว่ารู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอดหรือบริเวณแผลฝีเย็บมาก
อาจมีปัญหาปัสสาวะหรืออุจจาระลำบาก
การรักษา
การรักษาโดยทั่วไปถ้าขนาดของก้อนเลือดคั่งไม่ใหญ่
ใช้น้ำแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
ถ้าก้อนเลือดมีขนาดเกิน 10 ซม
โตเร็วต้องสงสัยว่าอาจจะมี
หลอดเลือดแดงฉีกขาดด้วย
subinvolution
มดลูกเข้าอู่ช้า (subinvolution) เป็นภาวะที่กระบวนการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูกใช้เวลานาน
สาเหตุ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การไม่ให้ทารกดูดนมมารดา
ปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะไม่หมดหรือมีอุจจาระมากใน rectum
การติดเชื้อของมดลูกหรือเยื่อบุมดลูกอักเสบ
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากมีเศษรกและ/หรือเยื่อหุ้มทารกค้าง
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาเป็นสีแดง
มีกลิ่นเหม็น
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ
อุณหภูมิร่างกายสูงและอาจ
ทำให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดในระยะหลังได้
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีมดลูกเข้าอู่ช้า
หลังทำคลอดรกตรวจให้แน่ใจว่ารถคลอดครบ
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก
กระตุ้นให้มารดาลุกจากเตียงโดยเร็ว
ให้ลุกเดินบ่อยๆ
และให้นอนคว่ำ
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมมารดา
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า
ถ้าไม่มีอาการกดเจ็บที่มดลูก น้ำคาวปลาไม่มีกลิ่นเหม็น มีเลือดออกน้อย
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา แล้วติดตามประเมินขนาดของมดลูก
ถ้ามีอาการกดเจ็บ มีไข้สูง และน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
กรณีมีเศษรกค้างจำเป็นต้องขูดมดลูกเพื่อเอาเศษรกออก
Puerperal infection
สาเหตุ
สาเหตุโดยตรงเกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ก่อน
การบาดเจ็บจากการคลอดร่วมกับการเปิดของช่องทางคลอดทำให้เชื้อโรคเข้าไปในเยื่อบุมดลูก
เข้าไปในช่องทางคลอดมาจากระบบทางเดินหายใจโดยการปนเปื้อนของน้ำมูก น้ำลาย
สาเหตุส่งเสริมมีดังนี้
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะโลหิตจางตั้งแต่ตั้งครรภ์
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ ในระยะคลอดโดยเฉพาะในรายที่ถุงน้ำคล่ำแตกแล้ว
การเจ็บครรภ์และการคลอดยาวนาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนคลอดเป็น
เวลานาน ซึ่งแบคทีเรียอาจลุกลามเข้าไปในมดลูกขณะที่ทารกยังอยู่ในครรภ์
การทำคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการหรือการคลอดยาก ทำให้เนื้อเยื่อของช่องทางคลอดได้รับความกระทบกระเทือน
การล้วงรถหรือมีการตรวจโพรงมดลูกหลังคลอดในรายที่มีเศษรกหรือมีเลือดออกมากผิดปกติ
เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้อง มีการแพร่เชื้อเข้าไปโดยตรง
การมีเศษรกค้างในโพรงมดลูกเนื่องจากเนื้อเยื่อตายเป็นแหล่งอาหารที่ดีแก่แบคทีเรีย
การดูแลแผลฝีเย็บที่ไม่ถูกต้องหรือการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกไม่ถูกต้อง
พยาธิสภาพ
หลังจากรกคลอดแล้ว ตำแหน่งที่รกเกาะจะเป็นแผล
thrombi
บริเวณเหล่านี้เป็นแหล่งเพาะเชื้อที่ดีของเชื้อโรค
ขณะเดียวกันเยื่อบุทั้งหมดก็ไวต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย
หรือมีรอยฉีกขาดทำให้เกิดบาดแผลขึ้นซึ่งเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ทำให้แบคทีเรียเข้าไปได้
การติดเชื้อเกือบทั้งหมดเริ่มจากแผลติดเชื้อแล้วจะกระจายเข้าสู่กระแสเลือดหรือน้ำเหลืองโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น2 ชนิดตามวิธีการแพร่เชื้อ
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
การแพร่กระจายไปตามหลอดเลือดดำ
septic pelvic thrombophlebitis,femoral thrombophlebitis จาก Infected emboli หลุดไปตามกระแสเลือด
อาการและอาการแสดง
septic pelvic thrombophlebitis เป็นภาวะที่วินิจฉัยได้ยาก ส่วนมาก
จะสงสัยในรายที่มีไข้สูงลอยทั้งที่ให้ยาปฏิชีวนะอย่างเพียงพอ
femoral thrombophlebitis จะ
พบว่ามีขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อยขาจะเป็นสีน้ าตาล ถ้าบวมมากจะเป็นสีขาว
การรักษา
heparin ถ้าตอบสนองได้ดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง จะเป็นการยืนยันการวินิจฉัยและ
จะต้องให้ต่อจนครบ 10 วัน ควรให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
ถ้าไม่ตอบสนองต่อการรักษาจะต้องทำผ่าตัดทางหน้าท้อง ในราย femoral thrombophlebitis ให้ยาปฏิชีวนะ บางรายอาจให้ heparin ให้นอนยกขาสูง ห้ามเดินจนกว่าจะไม่มีไข้แล้ว 1 สัปดาห์
การแพร่กระจายไปตามระบบน้ำเหลือง
Pelvic cellulitis (Parametritis)
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงลอย ปวดท้องน้อย อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ กดเจ็บบริเวณมดลูกอาจคล าได้ก้อน
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ถ้าเป็นก้อนฝีหนองต้องระบาย
Petronitis
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องรุนแรง ท้องโป่งตึง กดเจ็บ มี rebound tenderness ล าไส้
ไม่ท างาน มีไข้สูง ชีพจรเร็ว กระสับกระส่าย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ในรายที่เป็นรุนแรงอาจต้องได้รับการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนของการติดเชื้อหลังคลอด
การตกเลือด
มีภาวะช็อคจากการติดเชื้อ
มดลูกเข้าอู่ช้า
มีการจับตัวของลิ่มเลือด
การติดเชื้อสู่ทารก
การติดเชื้อที่รุนแรง
มากทำให้มารดาหลังคลอดเสียชีวิตได้
การติดเชื้อเฉพาะที่
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดเฉพาะที่ซึ่งไม่ค่อยรุนแรง
มักมีปัสสาวะลำบากร่วมด้วย
มีไข้ต่ำกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
แต่ถ้ามีหนองคั่งอยู่ในแผลฝีเย็บหรือช่องคลอดอาจมีไข้สูงและหนาวสั่นได้
การรักษา
hot sitz baths และอบแผล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและยาระงับปวดตามแผนการรักษา
การติดเชื้อแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด ช่องคลอดและปากมดลูก
การติดเชื้อของเยื่อบุมดลูกหรือการติดเชื้อของมดลูก (metritis)
การรักษา
แอมพิซิลลิน การติดเชื้อหลังคลอดส่วนมาก
ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและการรักษาแบบประคับประคอง
ในรายที่มีเศษรกค้างจะมีเนื้อตาย
เกิดขึ้นและเกิดเป็นฝีหนองซึ่งยาเข้าไม่ถึง การขูดมดลูกจะเป็นการรักษาที่ดี
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงแบบฟันเลื่อยระหว่าง 38.5 - 40 องศาเซลเซียส
ชีพจรเร็วสัมพันธ์กับอุณหภูมิ
ปวดท้องน้อยบริเวณมดลูก น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
หมายถึงการติดเชื้อแบคทีเรียของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
ขายหลังคลอดมักเกิดในช่วง 28 วันหลังคลอดซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในช่วงหลังคลอด
ทำให้มารดาหลังคลอดมีไข้สูงตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไปติดต่อกันอย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน ในช่วง 2 ใน 10 วันแรกหลังคลอดโดยไม่นับ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีการติดเชื้อ
การอักเสบที่เยื่อบุโพรงมดลูก
แนะนำให้มารดาหลังคลอดนอนคว่ำ
จัดให้นอนท่า fowler’s Position เพื่อช่วยส่งเสริมการไหลของน้ำคาวปลา
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การอักเสบที่เยื่อบุช่องท้อง
กรณีที่มีอาการท้องอืดและแน่นท้องมากต้องใช้ Continuous gastric suction
กรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ แพทย์อาจผ่าตัดระบายเอาหนองออกทางหน้าท้อง
จัดให้นอนท่า fowler's Position
การอักเสบที่แผลฝีเย็บและปากช่องคลอด
ชำระล้างบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและแผลฝีเย็บด้วยน้ ายาฆ่าเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ให้ hot sitz bath ด้วยน้ าละลายด่างทับทิมวันละ 2-3 ครั้งๆ ละ 10-15 นาทีและอบแผลวัน
ละ 2-3 ครั้งๆ ละ 3-5 นาทีเพื่อช่วยลดการอักเสบติดเชื้อและแผลหายเร็วขึ้น
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
เป็นการอักเสบของหลอดเลือดด าและลิ่มเลือดมีแนวโน้มที่จะเกิด
หลังคลอดเพราะการแข็งตัวของเลือดมีสูงเนื่องจากไฟบริโนเจนเพิ่มขึ้น
มักเกิดร่วมกับปัจจัยอื่นๆ
มีหลอดเลือดดำขอดและอุ้งเชิงกาน
มารดาที่อ้วนมาก
ประวัติการอักเสบของหลอดเลือดดำมาก่อน
ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด คลอดโดยขึ้นขาหยั่งเป็นเวลานาน
อาการและอาการแสดง
กรณีมีการอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณพื้นผิว (superficial venous
thrombosis) จะมีอาการปวดน่องเล็กน้อย บวม แดง ร้อน หลอดเลือดดำแข็ง
กดหลอดเลือดด าส่วนลึกแล้วเจ็บ ดันปลายเท้าเข้าหาลำตัวให้น่องตึงจะรู้สึกปวดมาก (Homan’s sign ได้ผลบวก) กล้ามเนื้อน่องเกร็ง ปวดตื้อๆ
การพยาบาลเพื่อป้องกันการอักเสบของหลอดเลือดดำ
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดลุกจากเตียงโดยเร็ว
แนะนำให้สวมถุงน่อง
ช่วง 2 สัปดาห์หลังคลอด
รองผ้าบนขาหยั่งเพื่อป้องกันไม่ให้น้ าหนักกดลงบนน่อง
แนะน ามารดาหลังคลอดให้หลีกเลี่ยงการนั่งนานๆ ลุกเดินทุกครึ่งหรือ 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกัน
การคั่งของเลือดบริเวณขา
การพยาบาลเมื่อเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ
ให้นอนพักยกขาข้างที่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำสูงขึ้น
ประคบด้วยความร้อน ช่วยให้เลือดไหลเวียนส่วนขาได้ดี
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลประคับประคองตามอาการ
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับอาการที่เป็น ถ้าการรักษาเหมาะสมอาการจะหายประมาณ 2-3 วัน แต่
ระยะของโรคอาจใช้ระยะเวลา 4-6 สัปดาห์จึงจะกลับคืนสู่สภาพปกติ
การอักเสบติดเชื้อของเต้านม (Breast infections)
เต้านมเป็นฝี (breast abscess)
อาการเริ่มต้นมีการคัดตึงเต้านมอย่างรุนแรง ปวดเต้านมมาก ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะมีอาการหนาวสั่น
มีไข้สูงอย่างรวดเร็วอาจสูงถึง 38.3 - 40 องศาเซลเซียส ชีพจรเต้นเร็ว
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีการอักเสบติดเชื้อที่เต้านม
ล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสเต้านม
ทำความสะอาดเต้านมและหัวนม เช็ดคราบที่ติดหัวนมออกให้หมดด้วยน้ำสะอาด หลีกเลี่ยงการใช้สบู่หรือสาเหตุที่ทำให้หัวนมแห้ง
สวมเสื้อพยุงเต้านมให้พอดี
ขนาดดูดนมให้ปากทารกอยู่บนลานนมให้มากที่สุด
เปลี่ยนท่าในการให้นมบ่อยๆ เพื่อไม่ให้แรงกดจากการดูของทารกลงบนส่วนใดส่วนหนึ่งของหัวนมมากเกินไป
ถ้ามีอาการคัดตึงเต้านม ให้บีบน้ำนมออก ให้ลานนมอ่อนนุ่มและประคบอุ่นก่อนให้ทารกดูด
ถ้ามีหัวนมแตกต้องรีบรักษา
เต้านมอักเสบ (mastitis)
ควรให้การรักษาอย่างเหมาะสมอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันไม่ให้การอักเสบการกลายไปเป็นฝีหนอง
การอักเสบมักจะดีขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง
เป็นการอักเสบของต่อมน้ านม ส่วนใหญ่จะพบในช่วง 3-4 สัปดาห์หลังคลอด
การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือขณะมีการอักเสบติดเชื้อ
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการอักเสบติดเชื้อ รักษาความสะอาด
ให้ยาปฏิชีวนะและยาบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา
กรณีเต้านมอักเสบให้ทารกดูดนมต่อไปได้
สวมเสื้อชั้นในหรือพันผ้าเพื่อพยุงเต้านม
ในรายที่เปิดแผลเพื่อระบายหนองออก
Postpartum Depression and psychosis
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum depression)
อาการและอาการแสดง
มีอารมณ์เศร้ารุนแรง
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
ต้องการพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น
ความรู้สึกสูญเสีย
มีความวิตกกังวลอย่างรุนแรง หวาดกลัว วิตก
กังวล ย้ำคิดย้ำท า กลัวโดยไม่ทราบสาเหตุ
แยกตัวเอง
รู้สึกจุกแน่นหน้าอก
ไม่มีความอยากอาหาร
นอนไม่หลับหรือนอนหลับ
ตลอดเวลา อาจมีความคิดในการฆ่าตัวตายหรือท าร้ายบุตร
สาเหตุ
ความตึงเครียดทางจิตใจ (psychological stress)
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา
ปัญหาในชีวิตสมรส
ไม่ได้รับความเห็นใจหรือเข้าใจ ถูกละเลยทอดทิ้ง
มีความวิตกกังวลต่อเพศ ลักษณะ ความสมบูรณ์ของบุตร
วิตกกังวลต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของตนเอง
สับสนกับการเปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็นมารดา
ความล้มเหลวในการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาทำให้เกิดความรู้สึกผิดละอายและสูญเสียความเชื่อมั่นในตนเอง
มีความผิดปกติทางจิตใจในระยะตั้งครรภ์ เคยมีประวัติซึมเศร้าในบุคคลก่อน หรือเป็น
biopolar illness ซึ่งมีโอกาสเป็นซ้ าได้มากกว่าร้อยละ 20
ความตึงเครียดทางสังคม (Social stress)
ความยากจน ทำให้วิตกกังวลต่อค่าใช้จ่ายในการคลอดและการเลี้ยงดูบุตร
ไม่ได้รับการเตรียมตัวก่อนคลอด
มารดาวัยรุ่นต้องพักการเรียนและต้องพึ่งพาบิดามารดา
มารดาหลังคลอดที่ได้รับการดูแลอย่างเคร่งครัดจากครอบครัว
ความตึงเครียดทางร่างกาย (biologial stress)
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคและสรีรวิทยาในระยะคลอด
ร่างกายต้องใช้พลังงานมาก
การเสียเลือด
เสียน้ำ
เสียเกลือแร่
เนื้อเยื่อถูกทำลาย
การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่อและระดับของฮอร์โมน
อาจเกิดจากการลดลงของฮอร์โมน
เอสโตรเจน โปรเจสเตอโรน เเละ ortiotropin releasing hormone ในระยะหลังคลอดทันที
มารดาหลังคลอดมีความตึงเครียดเนื่องจากการคลอดยาก
ภาวะซึมเศร้าของมารดาหลังคลอดเป็นภาวะเบี่ยงเบนด้านอารมณ์ ความคิดและการรับรู้ ส่งผลให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและพฤติกรรม เริ่มมีอาการตั้งแต่ 4 สัปดาห์ถึง 1 ปีหลังคลอด
การบำบัดรักษา
การบำบัดด้วยยา จะใช้ยารักษาโรคภาวะซึมเศร้าในกลุ่ม Selective serotonin reuptakeinhibitor เป็นอันดับแรก
จิตบำบัด เป้าหมายหลักในการทำจิตบำบัดคือ ลดความขัดแย้งในจิตใจที่มีอยู่ ช่วยทำให้ผู้มารดาหลังคลอดได้ระบายความรู้สึกและเข้าใจถึงอารมณ์ความรู้สึกตนเองมากขึ้น
โรคจิตหลังคลอด postpartum psychosis
โรคจิตหลังคลอดพบประมาณ 1-2 รายต่อมารดาหลังคลอด 1000 ราย โดยมากเริ่มเกิดอาการในระยะ 48 - 72 ชั่วโมงแรกหลังคลอด อาการของโรคจะพบได้ภายใน 1 เดือนแรกหลังคลอดผู้ที่เป็นแรงอาจมีอาการวิกลจริต
อาการแสดงของโรคจิตหลังคลอด
อาการนำ
มักเริ่มเป็นระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอด
นอนไม่หลับ ฝันร้าย
บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว
กระสับกระส่าย หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน กระวนกระวายใจ
การเคลื่อนไหวผิดปกติเช่น กระตุกเกร็ง พูดเร็ว
ภาวะการรู้ตัวอาจเลือนราง เริ่มมีอาการสับสน ความจำเสียและขาดสมาธิ
อาการของโรคจิต
อาการแบบซึมเศร้า
มีอารมณ์เศร้าอย่างมาก
ท้อแท้ เบื่อหน่ายทุกสิ่งอย่าง
เบื่ออาหารน้ำหนักลด อ่อนเพลีย ไม่มีแรง มีความเบื่อชีวิตและคิดอยากตาย
อาการ mania
มีอาการสนุกสนานร่าเริงผิดปกติ
และมีอารมณ์หงุดหงิด โกรธง่าย พูดมาก
พูดเร็ว พูดเสียงดังหรือพูดไม่ยอมหยุด ไม่หลับไม่นอน มีกิจกรรมมากผิดปกติ
อาการแบบโรคจิตเภท
มีการรับรู้ผิดปกติ หลุดจากโลกของความเป็นจริง
บางรายอาจมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอน
วิกลจริตที่พบมักมีเนื้อหาเกี่ยวกับทารก เช่น เกิดความคิดหลงผิดว่ามีปีศาจร้ายสิงอยู่ในตัวทารก
มารดาอาจมีอาการหูแว่ว ได้ยินเสียงคนว่า
กล่าวตำหนิติเตียนหรือมีเสียงสั่งให้ฆ่าทารก
สาเหตุ
มารดามีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนแล้ว ย้ำคิดย้ำทำ
ขาดการช่วยเหลือสนับสนุนจากสามีและครอบครัว ปัญหาเศรษฐานะ
มีประวัติเป็นโรคไบโพล่า
ประวัติของบุคคลในครอบครัวหรือญาติใกล้ชิดป่วยด้วยโรคไบโพล่า
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
การบำบัดรักษา
ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants) กลุ่มที่ถูกเลือกใช้เป็นอันดับแรกคือกลุ่ม selective
serotonin reuptake inhibitor จะใช้ในรายที่มีอาการแบบอารมณ์ซึมเศร้า
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer) ยากลุ่มนี้มียาลิเทียมเป็นมาตรฐาน
แต่ก็สามารถเลือกใช้ยากลุ่มกันชักมารักษาได้
โดยส่วนใหญ่แล้วกลุ่มโรคทางจิตหลังคลอดเป็นโรคที่สามารถรักษาหายขาดได้ แต่ในปัจจุบันยังมี
ความตระหนักถึงโรคกลุ่มนี้น้อยเกินไป ท าให้มารดาหลังคลอดที่มีอาการถูกละเลยการตระหนักและความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคกลุ่มนี้จะช่วยท าให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพกายสุขภาพใจที่ดี
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug) ในปัจจุบัน ยากลุ่มนี้ที่จัดอยู่ใน atypical antipsychotics
จัดทำโดย นายธเนศ สวาสนา 604N46132