Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพื้นฐาน สำหรับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม, สิทธิผู้ป่วย…
หลักการพื้นฐาน สำหรับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
.การศึกษาและการฝึกอบรมทฤษฎีจริยศาสตร์ หลักจริยธรรมสิทธิของผู้ป่วย
2.ประสบการณ์ พยาบาลจะต้องฝึกฝนทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในขณะปฏิบัติงานในแต่ละวัน
3.แบบอย่าง เช่น อาจารย์พยาบาล พยาบาลทุกระดับ รวมทั้งบุคลากรอื่นในทีมสุขภาพ
4.การมีที่ปรึกษาทางด้านจริยธรรม ที่ปรึกษาทางด้านจริยธรรม อาจเป็นบุคคลใดบุคคล
หนึ่ง หรือเป็นกลุ่มบุคคลที่มีความรู้
5.สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ในระหว่างการศึกษาเล่าเรียนที่สำคัญ
คือ แบบอย่างจากอาจารย์พยาบาล พยาบาล และบุคลากรอื่น
กระบวนการตัดสินใจเชิงในการปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนแรกที่จำเป็นที่จะต้องรวบรวมให้ได้มากที่สุด
1.ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
2.ข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าและความเชื่อของผู้ป่วย ญาติ และผู้เกี่ยวข้อง
3.ข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจและการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว
4.ข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัวและเศรษฐกิจ
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
เป็นความขัดแย้งทางจริยธรรม เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมักพบว่าไม่ว่าจะเลือกทางเลือกใด ก็มักจะก่อให้เกิดปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาเสมอ
ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดและการวิเคราะห์ทางเลือก
กำหนดทุกทางเลือกที่เป็นไปได้
วิเคราะห์ผลดี ผลเสียของแต่ละทางเลือก
ขั้นตอนที่ 4 การตัดสินใจเลือกและลงมือปฏิบัติ
การตัดสินใจร่วมกัน
เลือกทางเลือกที่เกิดประโยชน์สูงสุดมีหลักการทางจริยธรรมสนับสนุน
คำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่นศาสนา กฎหมาย เศรษฐกิจ
กำหนดแผนการปฏิบัติที่สามารถ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผล
ประเมินกระบวนการ
ประเมินผลลัพธ์ เช่น ลดความขัดแย้งได้หรือไม่ เกิดประเด็นขัดแย้งใหม่หรือไม่ปฏิกิริยาของผู้เกี่ยวข้องเป็นอย่างไร ฯลฯ
การเรียนรู้จากการตัดสินใจในครั้งนี้
ความสำคัญ
ตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วย จะต้องเป็นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์นั้น
การตัดสินใจ
-แนวคิดทางจริยธรรม
-ทฤษฎีและหลักจริยศาสตร์
-จรรยาบรรณวิชาชีพ
-นโยบายสาธารณสุข
-เศรษฐกิจ
-วัฒนธรรมและศาสนา
-กฎหมาย
-คุณค่าและความเชื่อ
สิทธิผู้ป่วย สิทธิพยาบาลและจรรยาบรรณวิชาชีพ
คำประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย
แยกออกเป็น 2 ส่วน
ข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย (Patients’ Responsibilities)
สอบถามเพื่อทำความเข้าใจข้อมูลและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นก่อนลงนาม ให้ความยินยอม หรือไม่ยินยอมรับการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาพยาบาล
ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและข้อเท็จจริงต่างๆ ทางการแพทย์ที่เป็นจริงและครบถ้วนแก่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพในกระบวนการรักษาพยาบาล
ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตัวตามคาแนะนาของผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานพยาบาล
ปฏิบัติต่อผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ป่วยรายอื่นรวมทั้งผู้ที่มาเยี่ยมเยียน ด้วยความสุภาพให้เกียรติและไม่กระทาสิ่งที่รบกวนผู้อื่น
แจ้งสิทธิการรักษาพยาบาลพร้อมหลักฐานที่ตนมีให้เจ้าหน้าที่ของสถาน พยาบาลที่เกี่ยวข้องทราบ
ผู้ป่วยพึงรับทราบข้อเท็จจริงทางการแพทย์
ปฏิบัติตามมาตรฐาน
การแพทย์แผนปัจจุบันที่ได้รับการพิสูจน์
แพทย์ไม่สามารถรักษาให้หายทุกโรคได้
การรักษาอาจเกิดสิ่งไม่พึงประสงค์ได้
การวินิจฉัยอาจมีการคลาดคลื่อนได้
การส่งตัวผู้ป่วยต้องพิจารณาตามความเหมาะสม
ผู้ป่วยปกปิดข้อมูดอาจเกิดความผิดพลาดในการรักษาได้
ห้องฉุกเฉินต้องให้ผู้ป่วยที่คุกคามต่อชีวิตก่อน
สิทธิที่บุคคลพึงได้และการได้รับความเท่าเทียม
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาลและการดูแลด้านสุขภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
ผู้ป่วยที่ขอรับการรักษาพยาบาลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การตรวจ การรักษา ผลดีและผลเสียจากการตรวจ การรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ด้วยภาษาที่ผู้ป่วยสามารถเข้าใจได้ง่าย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจาเป็นแก่กรณี
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบชื่อ สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้เข้าร่วมหรือผู้ถูกทดลองในการทำวิจัย
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอตามขั้นตอนของสถานพยาบาลนั้น
บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้
สิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วยมาจากสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน
ที่บุคคลพึงมีในฐานะเป็นเจ้าของตนเองและควรได้รับอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างสงบสุข ได้รับการเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
นางสาวอภิญญา พรมสุริย์ รหัสนักศึกษา 613101106