Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๒ องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร - Coggle Diagram
บทที่ ๒ องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร
องค์ประกอบของการบริหาร
(Management Component)
1.เป้าหมาย (Goal)
วัตถุประสงค์ที่แน่นอนในการบริหารองค์การ ผู้บริหารจะต้องมีการกำหนดทิศทางหรือวัตถุประสงค์ของการทำงานไว้ชัดเจน
ปัจจัยในการบริหาร (Factor of Management)
คน หรือ บุคลากร (Man) การบริหารกำลังคน
จะใช้คนอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพ
เงิน หรือ งบประมาณ (Money) การบริหารเงิน
จะจัดสรรเงินอย่างไรให้ใช้จ่ายต้นทุนน้อยที่สุด
และให้เกิดประสิทธิภาพ
วัสดุอุปกรณ์ (Materials) เป็นปัจจัยนำเข้าวัสดุครุภัณฑ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารการพยาบาล
เทคนิควิธี (Method)
เครื่องมือ (Machine)
ลักษณะของการบริหาร (Management Style)การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และทั้งศิลป์ที่ผู้บริหาร จะต้องนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กรจนมีคำกล่าวที่ว่า “ที่ใดมีผู้นำที่ดีที่นั่นก็จะมีความสำเร็จ”
กระบวนการบริหารจัดการ
(Management Process)
1. กระบวนการวางแผน (Planning)
การวางแผน
หมายถึง การใช้ความรู้และวิจารณญาณในการตั้งเป้าหมายของการทำงานโดยกำหนดกลวิธีและขั้นตอนในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบก่อนลงมือปฏิบัติเพื่อให้งานประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ
ประเภทของแผน
1.แผนระยะสั้น ๑-๓ปี เป็นการวางแผนในลักษณะของการกำหนดรายละเอียดของการทำงาน
2.แผนระยะกลางระยะเวลา ๕-๑๐ปี เป็นการวางเป้าหมายให้ครอบคลุมในระยะ ๕ปี
3.แผนระยะยาวใช้เวลาตั้งแต่ ๑๐ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการวางแผนและตัดสินใจของผู้บริหารการพยาบาล
ในระดับสูงขององค์กร
4.แผนฉุกเฉิน ขึ้นอยู่กับความจำเป็นและสภาพแวดล้อม
กระบวนการวางแผน (planning process
)
:red_flag: การกำหนดวัตถุประสงค์
(Setting the objective)
:red_flag:การรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
:red_flag:การวางแผน (Planning)
:red_flag:การดำเนินงานตามแผน
(Execution of the plan)
:red_flag:การติดตามและปรับปรุงแผน
(Monitoring of the plan)
2. การจัดองค์การ (Organizing)
การจัดองค์การ
คือ กระบวนการในการจัดโครงสร้างขององค์การซึ่งครอบคลุมเรื่องการแบ่งงานการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ผู้ปฏิบัติงานการกำหนดกลุ่มงานการกำหนดความสัมพันธ์ในสายการบังคับบัญชาและการประสานงานของหน่วยงานต่าง
องค์กรในโรงพยาบาล
:warning:องค์การแพทย์ (Medical Department)
:warning:องค์การพยาบาล (Nursing Department)
:warning:องค์การอื่น ๆ (Other Department )
:warning:องค์การบริหารงานทั่วไป
(Administrative and Lay Department)
กระบวนการจัดองค์การ
:<3:1. จัดวิเคราะห์งานเพื่อก าหนดโครงสร้างองค์การ
:<3:2. จัดทำแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจำหน่วยงาน
:<3:3.ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
:<3:4. มอบหมายการทำงาน
:<3:5. จัดแบ่งประเภทผู้รับบริการออกเป็นประเภทต่างๆ
:<3:6. มอบหมายงานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้ ความสามารถอย่างเหมาะสม
3. การอำนวยการ (Directing)
กระบวนการอำนวยการ
:check:1. จัดให้มีการประสานงาน ในสายงาน
การปกครอง บังคับบัญชา
:check: 2. จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง
:check: 3. มอบอำนาจหน้าที่กระจายหรือรวมอำนาจการบริหาร
:check: 4.การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน
ขอบเขตของการอำนวยการ
การสั่งการ
การคุมงาน
การติดตามงาน
รูปแบบการสั่งการ
แบบออกคำสั่งโดยตรงหรือ การออกคำสั่ง
(Demand or Direct)
2.แบบขอร้อง (Request)
3.แบบเสนอแนะ (Suggest)
4.แบบอาสาสมัคร (Volunteer)
หลักสำคัญในการปฏิบัติงาน
ต้องรู้แจ้งในข้อเท็จจริงให้แน่ชัด
ต้องสั่งงานให้ตรงประเด็น
ต้องสั่งงานให้เป็นที่เข้าใจ และต้องมีความแน่ใจ
ต้องสั่งงานให้ทันต่อเวลาหรือเหตุการณ์
จะต้องสั่งงานให้อยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติตามได้
ต้องมอบหมายอำนาจให้เพียงพอแก่การปฏิบัติงาน
ต้องกล้ารับผิดชอบ และยอมรับข้อผิดพลาดถ้าไม่เกิดผล
4.การประสานงาน Co (Co-ordination)
การประสานงาน
อาจกระทำได้เป็น 2 ลักษณะ
1.การประสานงานอย่างเป็นทางการ หมายถึง
การประสานงานแบบมีพิธีรีตรองที่ต้องปฏิบัติ
2.การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ หมายถึง
การประสานงานแบบไม่มีพิธีรีตองเพียงแต่ทำความ
ตกลงให้ทราบถึงการที่จะปฏิบัติให้เป็นไปตามจังหวะเวลาเดียวกัน และด้วยจุดประสงค์เดียวกัน
วิธีประสานงาน
การประสานงานภายในองค์การ
1.1 การประสานงานในทีมสุขภาพ
1.2การประสานงานในทีมการพยาบาล
การประสานงานนอกองค์การ
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
มีแผนงานที่ดี มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน
มีความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อกันและต่องาน
ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกันมีการติดต่อสื่อสารที่ดี
มีการประชุมพบปะหารือกันอยู่เสมอ
ผู้บริหารหรือหัวหน้างานต้องเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าของการประสานงานและเป็นผู้มองการณ์ไกล
ปัญหาและอุปสรรคในการประสานงาน
การจัดองค์การที่มีลักษณะซับซ้อนและเป็นองค์การที่ใหญ่มาก
การปฏิบัติงานที่ไม่มีแผน
การขาดมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
การมอบหมายงานที่ซ้ าซ้อนและก้าวก่ายหน้าที่กัน
การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน
ขาดการนิเทศที่ดี
สภาพแวดล้อมของหน่วยงานที่แตกต่างกัน
5.การควบคุม (Controlling)
หมายถึง การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนหรือแนวทางที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะการควบคุมงาน
การควบคุมภายใน คือ การควบคุมการปฏิบัติงานที่จัดให้มีในหน่วยงานนั้นๆ โดยอาศัยเทคนิค เครื่องมือ และวิธีการต่าง
การควบคุมภายนอก คือ วิธีการที่อยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของหน่วยงาน แต่เป็นการควบคุมโดยผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับผลจากการดำเนินงานของหน่วยงาน
ขั้นตอนการควบคุมงาน
กำหนดเป้าหมายของการควบคุมงาน
กำหนดเกณฑ์และมาตรฐานในการควบคุมงาน
เปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนดไว้
ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
ประโยชน์การควบคุมงาน
ช่วยใช้ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน มีความรับผิดชอบ
ประสิทธิภาพการทำงานและการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามแผนงาน
เกิดการค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จริง
ปัญหาในการควบคุมงาน
จัดระบบงานไม่ดี ละเลยการจัดระบบงาน
หัวหน้าหน่วยงานไม่เห็นความสำคัญ
ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงาน
ไม่มีหลักเกณฑ์และมาตรฐานการควบคุมงาน