Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
โภชนาการ
ความสำคัญของอาหารที่
มีต่อสุขภาพของร่างกาย อาหารชนิดใดมี
สารอาหารประเภทใดบ้าง มากน้อยเพียงใด
ความต้องการสารอาหารต่างๆในวัยเด็ก ขึ้นอยู่กับ
ภาวะกิจกรรม
ภาวะการเผาผลาญสารอาหาร metabolism
ความสามารถในการดูดซึมของลำไส้
อัตราการเจริญเติบโตตามช่วงเวลา
สภาพความสมบูรณ์ของร่างกาย
การคำนวณพลังงานโดยสูตร
Holliday & Segar
ไม่คำนึงถึงเพศ
10 Kg แรก = 100 kcal/kg/day
10 Kg ต่อมา = 50 kcal/kg/day
น้ำหนักที่เหลือ = 20-30 kcal/kg/day
ความต้องการน้ำ
เด็กควรได้รับน้ำอย่างเพียงพอในแต่ละวัน โดยคำนวณจากการ ใช้พลังงาน แล้วกำหนด 100 ml/100 kcal การใช้พลังงาน 100 kcal จะได้น้าจากการ oxidation 10-20 ml
ดังนั้นเด็กจะได้รับน้ำประมาณ 110-120 ml/100 kcal
การคำนวณการเจริญเติบโตเพื่่อทราบการเปลี่่ยนแปลงในภาวะขาดสารอาหาร
คำนวณน้ำหนักจากอายุ
แรกเกิด ; น้ำหนัก 3,000 กรัม
3-12 ; เดือน น้ำหนัก (กก) = (อายุ (เดือน) + 9)/2
1-6 ปี ; น้ำหนัก (กก) = อายุ (ปี) x 2 + 8
7-12 ปี ; น้ำหนัก (กก) = ((อายุ (ปี) x7)- 5)/2
สูตรคำนวณความสูงจากอายุ
แรกเกิด ; 50 cm
1 ปี ; 75 cm
2-12 ปี ; อายุ(ปี) x 6+77
สูตรคำนวณค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI )
BMI = น้ำหนัก (กก.)/(ส่วนสูงเป็นเมตร)^2
โภชนาการสาหรับเด็กแต่ละวัย
วัยทารก (0-1 ปี)
มีความต้องการสารอาหารสูง
ให้มารดาให้นมบุตรอย่างเดียวจนถึง 6 เดือน
ให้พลังงาน 20 แคลอรี่/ออนซ์
1 ออนซ์= 30 มิลลิลิตร
2 สัปดาห์แรกเกิด : ให้ทุก 2-3 ชั่วโมง หลังจากนัั้นทุก 3-4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน กลางคืนแล้วแต่ความต้องการของทารก
ปริมาณและจำนวนมื้อนมสำหรับทารก
แรกเกิด - 1 สัปดาห์ ให้ 6-10 มื้อ 1-3 ออนซ์
1 สัปดาห์ - 1 เดือน ให้ 7-8 มื้อ 2-4 ออนซ์
1-3 เดือน ให้ 5-7 มื้อ 4-6 ออนซ์
3-6 เดือน ให้ 4-5 มื้อ 6-7 ออนซ์
6-9 เดือน ให้ 3-4 มื้อ 7-8 ออนซ์
10-12 เดือน ให้ 3 มื้อ 7-8 ออนซ์
การเก็บน้ำนมแม่
อุณหภูมิห้อง
27 - 32 ํC 3-4 ชม.
16 - 26 ํC 4-8 ชม.
กระเป๋าเก็บความเย็น 15 ํC 24 ชม.
ตู้เย็นแบบประตูเดียว
ในช่องแช่แข็ง -15 ํC 14 วัน
ในช่องปกติ 4 ํC 5-8 วัน
ตู้เย็นแบบสองประตู
ในช่องแช่แข็ง -18 ํC 3-6 เดือน
ตู้แช่แข็ง (Deep Freeze) -20 ํC 6-12 เดือน
** - นมที่ละลายแล้วไม่ควรนำกลับมาแช่แข็งซ้ำ
ไม่ควรละลายหรืออุ่นนมในไมโครเวฟ
ไม่ควรเก็บนมในช่องเก็บของประตูตู้เย็นเพราะอุณหภูมิจะสูงกว่าปกติและไม่คงที่
การชงนมให้ใส่น้ำต้มสุกที่เย็นแล้วก่อน นม ทุกครั้ง และใช้อุปกรณ์ชงแนทการเขย่าเพื่อไม่ให้เกิดฟองอากาศ
การทำความสะอาดขวดนมและอุปกรณ์การให้นมทารก
ล้างทำความสะอาดแล้วตากให้แห้ง
นึ่งในน้ำเดือด ประมาณ 10-15 นาที
ปัญหาที่พบบ่อยในทารก
1.อาเจียน/แหวะนม/สารอกนม
พบบ่อยในทารก 2-4 เดือน จะค่อยๆหายไปเองเมื่อทารก 12 เดือน
สาเหตุที่พบบ่อย
กินนมแล้วไม่ถูกอุ้มให้เรอลม
กินนมมากเกิน
ภาวะกรดไหลย้อน
ภาวะย่อยนมได้ไม่ดี
ภาวะย่อยนาตาลแลกโตสได้ไม่ดี
2. ท้องอืด
สาเหตุ
ดื่มนมช้าเกินไป
ดื่มนมเร็วเกินไป
ดื่มนมที่มีฟองอากาศ
ร้องไห้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
กระบวนการย่อยอาหาร
3. ท้องผูก
สาเหตุอาจเกิดจากได้รับนมที่
มีไขมัน หรือโปรตีนสูงเกินไป
วัยเดิน
อัตราการเพิ่มน้ำหนักเริ่มลดลง
ต้องการพลังงานยังคงมีสูง
เด็กอยากกินอาหารน้อยลง สนใจการเล่น
อย่า เคี่ยวเข็ญลูกให้กิน
เวลาที่เด็กไม่สบายจะกินอาหารได้น้อย
เด็กก่อนวัยเรียน
อัตราการเจริญเติบโตลดลง
ความต้องการอาหารไม่มาก
เด็กรับประทานอาหารน้อยลง เพราะสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ต้องการโปรตีน 2-3 กรัม/กก.
จำเป็นต้องได้รับเหล็กเพิ่มจากการรับประทานไข่แดง ตับเนื้อสัตว์ ผักใบเขียว เนื่องจากในน้ำนมมารดาและนมวัวมีธาตุเหล็กน้อย
ต้องดูแลการได้รับแคลเซี่ยมและวิตามินซี
วัยเรียน
อัตราการเจริญเติบโตสม่ำเสมอ
เด็กมักให้ความสนใจกับขนม อาหารว่าง หรืออาหารสำเร็จรูป
เลือกรับประทานอาหารตามความนิยมของสังคม หรือกลุ่มเพื่อน ทำให้ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
วัยรุ่น
ต้องการพลังงานมากกว่า2,000 แคลอรี่ต่อวัน
มีอิสระในการเลือกรับประทานอาหาร
เลือกรับประทานอาหารตามกลุ่มเพื่อน เช่นอาหารฟาสฟูดส์
สารอาหารที่จำเป็น ได้แก่ ธาตุเหล็ก สังกะสี วิตามินA, C, D, B6 และกรดโฟลิค ต้องการแคลเซียมสูงมากเพื่อใช้ในการเสริมสร้างกระดูก
หลักการให้อาหารเสริม
ให้เด็กมีความพร้อม (Readiness)
เช่น อ้าปาก ใช้ลิ้นดุนอาหาร
เริ่มจากอาหารที่เป็นน้ำ เหลว อ่อน แข็ง
เริ่มทีละชนิด ครั้งละน้อย
ให้ก่อนมื้อนม แล้วค่อยเพิ่มจนแทนมื้อนม
ไม่บังคับ
อาหารเสริมของทารก
0-6 เดือน ; นมแม่
6 เดือน ; ข้าวบด ไข่แดงครึ่งฟองสลับตับ/เนื้อปลาบด 1 มื้อ, ผลไม้เป็นอาหารว่าง 1 มื้อ (มื้อที่เหลือคือนม)
7 เดือน ; ข้าวบด ไข่แดงทั้งฟองสลับตับ/เนื้อสัตว์บด 1 มื้อ, ผลไม้เป็นอาหารว่าง 1 มื้อ (มื้อที่เหลือคือนม)
8-9 เดือน ; ข้าวบด ไข่แดงทั้งฟองสลับตับ/เนื้อสัตว์บด 2 มื้อ, ผลไม้เป็นอาหารว่าง 1 มื้อ (มื้อที่เหลือคือนม)
10-12 เดือน ; ข้าวบด ไข่แดงทั้งฟองสลับตับ/เนื้อสัตว์บด เป็นอาหารหลัก 3 มื้อ กินนม
เป็นอาหารเสริม
พฤติกรรมการกินไม่
เหมาะสม
การเจ็บป่วยเรื้อรัง
ปฏิกิริยาต่อต้านต่อการเลี้ยงดู การบังคับ
พัฒนาการและความสนใจในแต่ละวัย อัตราการใช้พลังงาน
การติดสินบนเวลาลูกไม่กินอาหาร
ประวัติครอบครัวมีการแพ้อาหาร ไข่ขาว อาหารทะเล ถั่ว ปลา
ชนิดของอาหาร และวิธีการปรุง
นิสัยการรับประทานอาหาร อ้วน
ปัญหาโภชนาการในเด็ก
1. ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน(Obesity)
จากค่านิยมของครอบครัว ที่มักจะเลี้ยงดูให้
เด็กดูจ้ำม่ำ
มีความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ไขมันในเลือดสูง โรคข้อ โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ปัญหาทางด้านจิตใจ
2. น้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน(Underweight)
เด็กที่ผอมกว่าปกติอาจมีสาเหตุจากเป็นโรคเรื้อรัง
ได้รับอาหารไม่พอหรือไม่อยากอาหาร
ในเด็กหญิงโดยเฉพาะในช่วงอายุ 9-17 ปี อาจจะอดอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
3. โรคโลหิตจางจากการขาดเหล็ก(Iron Deficiency )
เป็นภาวะที่ความเข็มข้นของ Hb ,Hctหรือ RBC มีปริมาณ
น้อยกว่าปกติ
สาเหตุ :
ได้รับเหล็กไม่เพียงพอ
ได้รับอาหารไม่เพียงพอ
มีความผิดปกติในการย่อยและดูดซึมเหล็กจากอาหาร
เกิดจากการสูญเสียจากการมีพยาธิปากขอ
อาการ :
Anemia ทำให้การขนส่งออกซิเจนได้น้อยจึงมีผลต่อการเรียนรู้ ความเฉลียวฉลาด ความว่องไว ความตั้งใจ สนใจและการทำกิจกรรมต่างๆด้อย
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายมากขึ้นเวลาออกแรง หรือหากเป็นมากอาจมีอาการเหนื่อยเวลาอยู่เฉยๆ เวียนศีรษะ หมดสติ ใจสั่น หัวใจล้มเหลว
ติดเชื้อง่าย ภูมิต้านทานต่ำ
กินอาหารรสเผ็ดแล้วแสบลิ้น เนื่องจากมีลิ้นเลี่ยน เล็บผิดรูปโดยงอเป็นรูปช้อน
อาหารเสริมธาตุเหล็ก : เนื้อสัตว์ ตับ นม ไข่ ผักใบเขียว
อาหารที่ขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก : ชา กาแฟ วิธีที่จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีคือ หลังมื้ออาหารให้กินผลไม้ที่มีวิตามินซี เช่น ส้มหนึ่งผล
4. Vitamin A Deficiency (Retinol)
อาการ :
-Night Blindness
-Told skin (ผิวหนังย่น/ผิวหนังคางคก)
-Bilot spot spot (ตาดาขุ่น)
-Xeropthalmia (เกล็ดกระดี่:ตาขาวอักเสบรุนแรง)
การดูแลรักษา :
โรคแทรกซ้อน
รักษาทางโภชนาการ (nutrition management)
5. Vitamin B1 (Thiamin) Deficiency
สาเหตุ :
กินไม่พอ
กินอาหารที่ขัดขวางการดูดซึม Vit . B . B1(ปลาร้าดิบ หอยดิบ เมี่ยง หมาก ใบชา)
อาการ : เหน็บชา
Dry BeriBeri : ปลายประสาทอักเสบ ที่เท้า และขา(ส่วนมาก) มือรุนแรงจะมือห้อยเท้าห้อยเดินไม่ถนัด กล้ามเนื้อลีบ เจ็บปวดมาก
Wet BeriBeri : มีอาการทางหัวใจ หายใจไม่สะดวก อ่อนเพลียไม่มีแรง บวมตามเท้า แขนขา หรือทั่วตัว หัวใจโต
infantile BeriBeri : มักพบ 2-6 เดือนซึ่งกินนมแม่ เด็กจะซึม ไม่ดูดนม กระสับกระส่าย ท้องอืด อาเจียน อาจบวม น้ำคั่งในปอด ตับ หัวใจ
การป้องกันและรักษา :
กินอาหารที่มี B1 สูง : ยีสต์ น้ำมันตับปลา มีมากในธัญพืช ข้าวกล้อง และข้าวที่ยังไม่ถูกขัดสี ตับและเนื้อวัวหรือหมู ปลา ไข่ นม เต้าหู้หรือถั่วหมัก ถั่วต่างๆ รำข้าว ข้าวซ้อมมือ งา กระเทียม
รุนแรงอาจให้กิน B1 1 เม็ด หรือฉีดเข้ากล้ามหรือเข้าเส้นเลือดดำหรือผสมในนมที่กิน กรณีทารก
6. Vitamin B2 Deficiency (Riboflavin)
อาการ :
Angular stomatitis (ปากนกกระจอก)
Glossitis Glossitis Glossitis (ลิ้นอักเสบ)
Scrotal dermatitis
การป้องกันและรักษา :
กินอาหารที่มี B2 : เนื้อสัตว์ เครื่องใน ตับ หัวใจ นม ผักสด และผักที่กำลังแตกยอด ไข่แดง ไข่ปลา เนยแข็ง ผักใบเขียวหรือ กิน B2 ให้ได้วันละ 0.6 mg/แรงงานที่ใช้ 1,000cal
7. Vitamin C Deficiency (Ascorbic acid)
อาการ :
Scurvy (ลักปิดลักเปิด)
อ่อนเพลีย ซึม เบื่อหน่าย เชื่องช้า น้ำหนักลด ไม่อยากอาหาร
เหงือกบวม ฟันหลวม เส้นเลือดฝอยเปราะ เลือดออกตามไรฟัน
ป่วยบ่อย ภูมิต้านทานต่ำ
การป้องกันและรักษา :
กินอาหารที่มี C สูง : ส้ม มะนาว มะเขือเทศ ฝรั่ง มะขามป้อม มะรุม ผักโขมสวน มะขามเทศ บลอคโคลรี่
เป็นมากกิน vit C 300 -500 mg/day