Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ ได้รับอุบัติเหตุ, นางสาวอรณิชา ไชยเดช…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่
ได้รับอุบัติเหตุ
การจมน้ำ (Drowning)
Drowning(การจมน้ำตาย) =>ผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ ภายใน 24 ชม.
Near-Drowning(การจมน้ำเกือบตาย) => ผู้ที่จมน้ำแต่ไม่เสียชีวิตทันที บางรายอาจเสียชีวิตต่อมาในช่วงเวลาสั้นๆได้
เป็นอุบัติเหตุที่พบบ่อย ทำให้เสียชีวิตเป็นอันดับ 1 ของการตายในเด็ก
1.การจมน้ำเค็ม (Salt-water Drowning)
เกิดภาวะ Hypovolemia ระดับน้ำเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
2.การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning)
เกิดภาวะ Hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
วิธีช่วยเด็กจมน้ำ
กรณีเด็กรู้สึกตัว
ให้รีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ใช้ผ้าคลุมตัวเพื่อให้อบอุ่น จัดท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ แล้วนำส่งโรงพยาบาลเร็วที่สุด
กรณีเด็กหมดสติ
เช็กว่ายังมีลมหายใจไหม หัวใจเต้นหรือเปล่า
ถ้าไม่
ให้โทรเรียกหน่วยรถพยาบาลหรือหน่วยกู้ภัยโดยด่วน จากนั้นให้ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยการนวดหัวใจสลับการช่วยหายใจ
การป้องกันไม่ให้เด็กจมน้ำ
ไม่ให้เด็กเล่นใกล้แหล่งน้ำหรือเล่นน้ำในสระว่ายน้ำตามลำพัง
สอนให้เด็กว่ายน้ำอย่างถูกวิธี
ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
ให้ใส่เสื้อชูชีพเมื่ออยู่ในเรือ
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
พบในเด็กเล็กที่อายน้อยกว่า 3 ปี
ปัญหาที่เกิดตามหลังการสำลัก
เกิดการอุดกั้นการระบายของเสมหะในทางเดินหายใจ : ปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบ
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมส่วนปลาย : ปอดแฟบ ปอดพอง หอบหืด
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน : ทางเดินหายใจมีขนาดเล็ก การอุดกั้นเพียงเล็กน้อย อาจทำให้ถีงแก่ชีวิตได้
เป็นปัญหาที่มีความสำคัญและอาจมีอันตรายถึงชีวิต
การช่วยเหลือ
กรณีเด็กอายุมากกว่า 1 ปี
3.กดซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลดออกมา
4.หากเด็กหมดสติ ประเมินการหายใจ การเต้นของชีพจร และให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการกดท้อง
2.ถ้าเด็กไม่สามารถพูด หรือมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หายใจลำบาก ซีด เขียว ให้ทำการกดท้อง โดยผู้ช่วยยืนด้านหลังเด็ก แล้วอ้อมแขนมาด้านหน้า กำมือเป็นกำปั้นและวางกำปั้นด้านข้าง(ด้านหัวแม่มือ)บนกึ่งกลางหน้าท้องเหนือสะดือเด็ก กดโดยให้แรงมีทิศททางเข้าด้านในและเฉียงขึ้นบย
5.การกดท้องในเด็กหมดสติ ทำโดยให้เด็กอยู่ในท่านอนราบ ผู้ช่วยนั่งคร่อมตัวเด็ก วางสันมือบนท้องเด็กตำแหน่งสูงกว่าสะดือเด็ก กดในทิศทางเข้าด้านในและเฉียงขึ้น กด 5 ครั้ง แล้วเปิดปากสำรวจดูว่ามีสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาหรือไม่กึ่งกลางท้องเด็ก
1.กระตุ้นให้เด็กไอเอง
กรณีเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
3.จากนั้นพลิกเด็กหงายบนแขนอีกครั้ง วางบนหน้าตักให้ศีรษะอยู่ต่ำ แล้วกดหน้าอกโดยใช้ 2 นิ้วของผู้ช่วยกดลงบนกระดูกหน้าอกในตำแหน่งที่เส้นลาก ระหว่างหัวนมทั้งสองข้างลงมา หนึ่งความกว้างนิ้วมือ
4.ทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
2.เคาะหลัง 5 ครั้งติดต่อกัน เคาะแถวกึ่งกลางระหว่างกระดูกสะบักทั้งสองข้าง
5.หากเด็กหมดสติ ประเมินการหายใจ การเต้นชีพจรและให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการเคาะหลังและการกดหน้าอก
1.วางเด็กคว่ำลงบนแขน และวางแขนลงบนหน้าตัก โดยให้ศีรษะเด็กของเด็กต่ำ
วิธีของ Heimlich
ช่วยเหลือผู้ป่วยโดยในผู้ใหญ่หรือเด็กโต ทำในท่านั่งหรือยืนโน้มตัว ไปด้านหน้าเล็กน้อย ผู้ช่วยเหลือเข้าทางด้านหลัง ใช้แขนสอดสองข้างโอบผู้ป่วยไว้ มือซ้ายประคองมือขวาที่กำมือวางไว้ใต้ลิ้นปี่ ดันกำมือขวาเข้าใต้ลิ้นปี่อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เกิดแรงดันในช่องท้องดันเข้าใต้กะบังลมผ่านไปยังช่องทรวงอก เพื่อดันให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออกจากกล่องเสียง
บาดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (Burns)
เป็นบาดแผลที่เกิดจากอุบัติเหตุที่พบได้ บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
สาเหตุ
ความร้อน : ไฟ วัตถุความร้อน น้ำร้อน น้ำมันร้อนๆ
กระแสไฟฟ้า
สารเคมี : กรด ด่าง
รังสี : แสงแดด นิวเคลียร์ เรเดียม
การเสียดสีรุนแรง
บริเวณพื้นที่ของบาดแผล แผลที่มีขนาดใหญ่ อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ โปรตีน และเกลือแร่ ถึงกับเกิดภาวะช็อกได้ และอาจเกิดการติดเชื้อได้
แผลขนาด 1 ฝ่ามือของผู้ป่วยเท่ากับ 1% ของผิวหนังทั่วร่างกาย
ความลึกของบาดแผล
ระดับ 2 Second degree burn
Superficial partial-thickness burn
มีการทำลายของหนังกำพร้าทั้งชั้นนอกและชั้นในสุด และหนังแท้ส่วนที่อยู่ตื้นๆใต้หนังกำพร้า
หายได้เร็วภายใน 2-3 สัปดาห์ และมักไม่ทำให้เกิดแผลเป็น
พุพองเป็นตุ่มน้ำใส
Deep partial-thickness burns
มีการทำลายของหนังแท้ส่วนลึก
แผลมีสีเหลืองขาว แห้ง ไม่ค่อยปวด ทำให้เกิดแผลเป็น หายภายใน 3-6 สัปดาห์
ระดับ 3 Third degree burn
มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมต่อมเหงื่อ และเซลล์ประสาท
มีโอกาสเกิดแผลหดรั้งทำให้ข้อยึดติดตามมาสูงมาก
ระดับ 1 First degree burn
บาดแผลที่มีการทำลายของเซลล์หนังกำพร้าชั้นผิวนอกเท่านั้น
หายได้เร็วและสนิท ไม่ทำให้เกิดแผลเป็น
การพยาบาล
2.แผลที่เป็นตุ่มน้ำใส ไม่เอาเข็มไปเจาะ
3.ถ้าบาดแผลเกิดมีขนาดกว้างอาจทำให้ผู้ป่วยช็อกได้ ควรรีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันที
1.ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดแล้วใช้ผ้าก๊อซแห้งปิดแผลไว้
การรักษา
ยาปฏิชีวนะทาเฉพาะที่ : Sliver sulfadiazine
สารน้ำ : Ringer's lactate
กระดูกหัก(Bone fracture)
มีรอยแยก รอยแตก เกิดอาการเจ็บปวด บวม เคลื่อนไหวไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวผิดปกติ
แบ่งตามบาดแผล
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล
กระดูกหักแบบแผลเปิด
แบ่งตามรอยที่มีการหักของกระดูก
กระดูกหักยุบเข้าหากัน : กระดูกทั้ง 2 ด้านได้รับแรงกด ส่งผลให้กระดูกแตก 2 ด้าน
กระดูกเดาะ : กระดูกแตกเพียงด้านเดียว ส่วนกระดูกอีกด้านโก่งไปตามแรงกดที่ปะทะมา
กระดูกหักทั่วไป : กระดูกแตกออกเป็น 2 ชิ้น
การปฐมพยาบาล
3.ถ้ามีเลือดออกให้ทำการห้ามเลือดก่อนเสมอไม่ว่ากระดูกจะหักหรือไม่
4.ดามกระดูกที่หัก
2.ทำการปฐมพยาบาลด้วยวิธี CPR
5.ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล
1.ประเมินบริเวณที่บาดเจ็บ
ได้รับสารพิษ(Poisons)
สารเคมีมีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ เข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
สารพิษจำแนกตามลักษณะของการออกฤทธิ์
1.ชนิดกัดเนื้อ
2.ชนิดทำให้ระคายเคือง
3.ชนิดที่กดระบบประสาท
4.ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ
เพ้อ ชัก หมดสติ มีอาการอัมพาตบางส่วน ขนาดช่องม่านตาผิดปกติ
หายใจขัด หายใจลำบาก มีเสมหะมาก มีอาการเขียวปลายมือ-เท้า
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง น้ำลายฟูมปาก มีกลิ่นสารเคมีที่ปาก
ตัวเย็น เหงื่อออกมาก มีผื่นหรือจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารเคมีทางปาก
นำส่งโรงพยาบาล เพื่อล้างท้องเอาสารพิษออก
ทำให้ผู้ป่วยอาเจียน
แต่ห้ามในผู้ป่วยหมดสติ ได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อ รับประทานสารพิษพวกน้ำมันปิโตรเลียม
ทำให้สารพิษเจือจาง ให้นม
ให้สารดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหาร เพื่อลดปริมาณสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารกัดเนื้อ
อาการ : ไหม้พอง ร้อนบริเวณปาก คลื่นไส้อาเจียน กระหายน้ำ และมีอาการช็อค
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพวกน้ำมันปิโตรเลียม
อาการ : แสบร้อนบริเวณปาก คลื่นไส้ อาเจียน มีกลิ่นน้ำมัน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
ห้ามทำให้อาเจียน
ถ้าอาเจียน ให้จัดศีรษะต่ำ เพื่อป้องกันการสำลักน้ำมันเข้าปอด
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับยาแก้ปวด ลดไข้
ทำให้สารพิษเจือจาง
ทำให้อาเจียน
ให้สารดูดซับสารพิษ
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจ
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตูหน้าต่างๆ เพื่อให้อากาศถ่ายเท
นำผู้ป่วย ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ นำส่งโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีถูกผิวหนัง
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างด้วยน้ำสะอาดนานๆ อย่างน้อย 15 นาที
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตา
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างตาด้วยน้ำนาน 15 นาที
ปิดตา นำส่งโรงพยาบาล
นางสาวอรณิชา ไชยเดช รุ่น36/2 เลขที่ 58 รหัสนักศึกษา 612001139