Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันหลอดเลือดในปอด (amniotic fluid embolism: AFE),…
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันหลอดเลือดในปอด (amniotic fluid embolism: AFE)
การพยาบาล
เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (AFE)
นอนท่าศีรษะสูง
NPO ให้ IV fluid + oxygen
on electronic fetal monitoring
เตรียมให้พร้อมสำหรับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการหรือการผ่าตัดคลอด
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพของทั้งผู้คลอดและทารกให้พร้อมใช้
การป้องกันภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยงในผู้คลอดทุกราย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่าง
ประเมินสัญญาณชีพและอาการแสดงของ AFE
หลีกเลี่ยงการตรวจทางช่องคลอด
การป้องกัน
เจาะถุงน้ำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก >>> ป้องกันเส้นเลือดฉีกขาด
ขณะเจ็บครรภ์คลอด >>> ไม่ควรกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
กรณีทารกตาย >>> ระมัดระวังการกระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
มารดา
การหายใจล้มเหลว
ตกเลือด >>> ช็อก
เสียชีวิต
DIC
ทารก
ขาดออกซิเจนและเสียชีวิต (ถ้ายังไม่คลอด)
คือ
น้ำคร่ำรั่วเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา ทำให้ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจล้มเหลว
เกิดภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก
อาการจะเกิดขึ้นรวดเร็ว รุนแรง
neurological damage
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
มดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรง ทำให้ความดันในโพรงมดลูกมากขึ้น >>> น้ำคร่ำถูกดันเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
ถุงน้ำคร่ำแตก >>> เกิดช่องทางติดต่อในการที่น้ำคร่ำจะหลุดเข้ากระแสเลือด
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ให้สารละลายทางหลอดเลือด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้าทารกยังไม่คลอด >>> ประเมินทารกและรีบให้การผ่าตัดคลอดอย่างเร่งด่วน
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอด >>> BP drop
เจาะเลือดประเมินความเข้มข้นเลือด การแข็งตัวของเลือด
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
กระสับกระสาย หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก
การหายใจล้มเหลว
Cyanosis
ความดันโลหิตต่ำ
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ABG พบออกซิเจนในเลือดต่ำ
PT, PTT Plt. Fibrinogen level ผิดปกติ + Hb, Hct ลดลง รายที่เสียเลือดมาก
EKG >>> ภาวะหัวใจล้มเหลว
CXR >>> น้ำท่วมปอด
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย
ชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ
เหงื่อออก
ตัวเย็น
ซีด
หายใจลำบาก
หมดสติ
อาการเขียว
ระบบหายใจล้มเหลว
นางสาวสุภาวรรณ จันทร์แดง รหัส 603901042 :star:
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์: ภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1-2 ของการคลอด :check: