Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle…
บทที่ 5 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
อุบัติเหตุ (ACCIDENTACCIDENT)
หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดความบังเอิญ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
ความประมาทเลินเล่อ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของบิดามารดา ผู้ปกครองหรือผู้ที่ดูแลเด็ก
สิ่งแวดล้อม ทั้งสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม เป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุในเด็กได้
ด้านตัวเด็กเอง อยากรู้อยากเห็นตามพัฒนาการของเด็กที่ต้องมีการเรียนรู้
ผลกระทบของการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก
ผลกระทบด้านจิตใจ
ผลกระทบระยะยาว
ผลกระทบด้านร่างกาย อุบัติเหตุมีผลกระทบ
อุบัติเหตุในเด็ก( ACCIDENTS IN CHILDREN CHILDREN)
อุบัติเหตุส่วนใหญ่ในเด็กเล็กมักเกิดขึ้นในบ้านและสามารถป้องกันได้
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อยตามพัฒนาการ
อายุ 18-24 เดือน
ระดับพัฒนาการ วิ่ง เปิดลิ้นชัก ตู้ ประตู
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย สาลักอาหารจากการวิ่งขณะรับประทานอาหาร
อันตรายจากการใช้ถนน
อายุ 24-60 เดือน
ระดับพัฒนาการ ขี่จักรยาน 3ล้อ
ใช้กรรไกรได้
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย อุบัติเหตุบนท้องถนน
การบาดเจ็บจากของมีคม
อายุ 12-18 เดือน
ระดับพัฒนาการ สามารถใช้กล้ามเนื้อในการหยิบจับได้
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย สาลักอาหาร สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจได้รับสารพิษจากยา สารเคมี
อายุ 6-10 ปี
ระดับพัฒนาการ ชอบผจญภัย เล่นตามเพื่อน
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย อุบัติเหตุบนท้องถนน
อุบัติเหตุและเสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปแบบ
อายุ 6-12เดือน
ระดับพัฒนาการ กลิ้งได้ เหนี่ยวยืน เกาะยืน เดิน หยิบของชิ้นเล็กเข้าปาก
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย พลัดตกหกล้ม
สาลักอาหาร สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ
อายุ 10-13 ปี
ระดับพัฒนาการ ทาตามกลุ่มเพื่อนเล่นในสถานที่ต่าง ๆ
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย อุบัติเหตุบนท้องถนน
อุบัติเหตุ และเสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปแบบ
อายุ 2-6 เดือน
ระดับพัฒนาการ พลิกคว่าพลิกหงาย คว้าของ
หยิบของชิ้นเล็กเข้าปาก
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย ตกจากที่สูง
การบาดเจ็บจากการถูกของร้อน น้าร้อนลวก
อายุ 13-18 ปี
ระดับพัฒนาการ ทาตามกลุ่มเพื่อนเล่นในสถานที่ต่าง ๆ
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย อุบัติเหตุบนท้องถนน
อุบัติเหตุ และเสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปแบบ
อายุ 0-2 เดือน
ระดับพัฒนาการ นอนคว่า ยังไม่สามารถยกศีรษะ
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อย ขาดอากาศเมื่อบริเวณที่นอนมีวัสดุนุ่มฟูอุดจมูกจากแนวราบได้ดี
การพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
การป้องกันการพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
ราวบันไดและระเบียงต้องมีช่องห่างไม่เกิน 9ซม. หรือหาแผ่นไม้มากั้นถ้าช่องห่างเกิน
หน้าต่างต้องอยู่สูงอย่างน้อย 1เมตรเพื่อป้องกันไม่ให้เด็กปีนป่ายได้
เฟอร์นิเจอร์ เช่น โต๊ะ ตู้ ต้องไม่มีมุมคมหากมีควรใส่อุปกรณ์กันกระแทกที่มุมขอบทุกมุม
ตู้วางของต่างๆต้องวางบนพื้นราบมั่นคง และใช้อุปกรณ์ยึดติดกาแพงป้องกันการล้มเมื่อเด็กโหนหรือปีนป่าย
หมั่นตรวจสอบประตูรั้วบ้านที่เป็นประตูเลื่อนซึ่งมีขนาดใหญ่และมีน้าหนักมาก ประตูแบบนี้อาจหลุดจาก
รางและล้มทับเด็กได้หากเด็กปีนป่าย
สัตว์กัด
เด็กเล็ก : ไม่ปล่อยให้เด็กทารกอยู่ตามลาพังกับสุนัข และต้องฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าแก่สุนัขเลี้ยง
เด็กโต สอนเด็กไม่ให้เล่นกับสุนัขจรจัด สุนัขเลี้ยงที่ไม่รู้จัก และลูกสุนัขแรกเกิดที่มีแม่อยู่ด้วย
สอนเด็กไม่ให้รังแกสัตว์ เช่น ดึงหู ดึงหาง แย่งจานอาหาร ของเล่นของสัตว์
ฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าแก่สุนัขเลี้ยง
การเขย่าตัวเด็ก
SHAKEN BABY SYNDROME หรือกลุ่มอาการทารกถูกเขย่า
ภัยใกล้ตัวที่เกิดขึ้นได้ทุกครัวเรือน โดยเฉพาะครอบครัวที่มีบุตรหลานวัยต่ากว่า 2 ปี อาจรู้เท่าไม่ถึงการณ์เขย่าตัวลูก ไม่ว่าจะเพราะเล่น หรือโมโหที่ลูกร้องไห้ ทาให้ทารกได้รับบาดเจ็บจนถึงแก่ี่วิตได้
การเขย่าทาให้เกิดเลือดออกในสมอง และประสาทตา ทาให้เด็กพิการทางสมอง ตาบอดหรือเสียี่วิตได้
การป้องกัน คือ ห้ามเขย่าเด็ก
6 การจมน้า(DROWNINGDROWNING)
การปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำ
1 การนาผู้บาดเจ็บขึ้นจากน้า โดยตั้งสติ ถ้าไม่แน่ใจถึงความปลอดภัยในการลงไป่่วยผู้ประสบภัยในน้า
ห้าม ลงไปในน้า ให้ตะโกนเรียกคนมา่่วยและหาวัสดุที่ลอยน้าได้ใกล้ตัวโยนไปให้ผู้ประสบภัยเกาะ หรือหา ไม้หรือเื่อกยื่น หรือโยนไปให้ผู้ประสบภัยแล้วดึงขึ้นมา
2 กรณีต้องลงไปช่วยในน้าให้ให้เป็นหน้าที่ของผู้ใหญ่ หรือผู้ที่มีความ่านาญ
ถ้าไม่เป็นอะไรรุนแรงต้องกู้ี่พ ให้ความอบอุ่น เ่่น เ่็ดตัวให้แห้ง ห่มผ้า แผ่นให้ความอบอุ่น
การรักษาการบาดเจ็บอื่นร่วมด้วย
ถ้าหมดสติ หยุดหายใจ ให้ปฏิบัติการกู้ชีวิต
การนาผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาล รอรถพยาบาล
การป้องกันการจมน้ำ
สอนเด็กให้รู้วิธีช่วยผู้จมน้าโดยการตะโกนขอความช่วยเหลือ โยนอุปกรณ์ช่วยลอยตัว หรือยื่นอุปกรณ์ให้เกาะ ไม่กระโดดลงไปในน้าเพื่อช่วยเหลือผู้จมน้า
สระน้าในหมู่บ้าน โรงเรียน ที่พักและสถานที่ท่องเที่ยว ต้องจัดให้มีผู้ช่วยชีวิต อุปกรณ์ช่วยชีวิต และกาหนด
กฎระเบียบในสระว่ายน้าสาธารณะและแหล่งน้าที่เป็นที่ท่องเที่ยว
อุบัติเหตุจากอาวุธและของมีคม
ผลกระทบ
อาจบาดเจ็บเล็กน้อยไปจนถึงเสียชีวิต
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุจากอาวุธของมีคมและความรุนแรง
ผู้ดูแลไม่สนับสนุน หรือจ้างวานให้เด็กซื้อหรือเสพเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
4 สอนให้เด็กปกป้องตนเองจากบุคคลอันตราย
2 ผู้ดูแลไม่ปล่อยให้เด็กใช้ความรุนแรงต่อกัน
5 สอนให้เด็กรู้จักบอกเมื่อมีผู้อื่นมากระทาหรือปฏิบัติโดยมิชอบ
ไม่ควรเก็บปืนไว้ในบ้าน หากมีต้องเก็บให้มิดชิด
6 ฝึกให้เด็กมีวิธีการจัดการความขัดแย้งอย่างเหมาะสม
ลักษณะของอุบัติเหตุ
เอาปืนพ่อมาเล่น ทาปืนลั่นใส่ตนเองหรือผู้อื่นเนื่องจากนึกว่าของเล่น
เล่นของมีคม เช่น มีด ดาบ ถูกบาดมือ แทง
บาดเจ็บจากชกต่อยใช้ความรุนแรง
7 สารพิษ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเด็กได้รับสารพิษ
สารพิษได้รับทางผิวหนัง การให้ความ่่วยเหลือ สามารถทาได้โดยถอดเสื้อผ้าหรือสิ่งปกคลุมออกแล้วล้างด้วยน้าสะอาด
2 . สารพิษที่ได้รับโดยวิธีรับประทาน ลดการดูดซึมสามารถทาได้โดยการให้ผู้ป่วยดื่มน้า 1 หรือ 2 แก้ว, กระตุ้นให้อาเจียน อาจใ่้ไข่ขาว หรือใ่้มือกระตุ้น บริเวณคอให้ผู้ป่วยอาเจียน
3 . สารพิษที่เป็นสารเคมีเข้าตา การ่่วยเหลือก็ทาคล้าย ๆ สารพิษที่ได้รับทางผิวหนังคือ ใ่้น้าสะอาดล้างออกให้เร็วและมากที่สุดเท่าที่มากได้
สารพิษที่ได้รับจากการสูดดมเข้าไป พาผู้ป่วยออกพ้นจากบริเวณที่มีสารพิษโดยเร็ว
ลักษณะการเกิดเหตุ
เก็บสารพิษไม่พ้นมือเด็ก
ใส่สารพิษไว้ในภาชนะคล้ายกับภาชนะที่บรรจุอาหารหรือเครื่องดื่ม
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายจากสารพิษ
ไม่นาเอาสารพิษใส่ภาชนะที่มีลักษณะคล้ายกับภาชนะที่บรรจุ
เลือกใช้ของเล่นที่ได้มาตรฐาน เหมาะสมกับอายุเด็ก
1 เด็กเล็ก : เด็กวัยนี้สนใจค้นของต่าง ๆในบ้านขณะเดียวกันมี
หากเด็กกินหรือดื่มสารพิษ ให้ติดต่อศูนย์พิษวิทยาหมายเลข 1367
สารพิษมักเป็นสารที่ใช้ภายในบ้าน เช่น ผงซักฟอก น้ายาซักผ้า น้ายาปรับผ้านุ่ม น้ายาล้างห้องน้า น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด
1 อุบัติเหตุจากการอุดตันทางเดินหายใจ
ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาเมื่อเกิดการอุดกันทางเดินหายใจ
1.สมองขาดออกซิเจน ทาให้เป็นอันตรายถึงแก่วิตได้
2.เกิดภาวะปอดแฟบปอดพองหรือหอบหืดได้
3.ทาให้เกิดปอดอักเสบ,หลอดลมอักเสบ
4.สิ่งแปลกปลอมบาง่นิด เ่่นถ่านนาฬิกา,ถ่านเครื่องคิดเลข
การอุดตันทางเดินหายใจ
อุบัติเหตุจากการนอน (อายุ 0-22เดือน)
ที่นอนนุ่ม อุดกั้นทางเดินหายใจ
มารดาที่หลับลึกนอนทับ
การอุดตันทางเดินหายใจ
อาหาร ของเล่น เหรียญ แบตเตอรี่
การขาดอากาศ เ่่น การผูกคอ หรือการรัดคอ
8 อุบัติเหตุจราจร
กำรช่วยเหลือเบื้องติ้น
1.ตั้งสติประเมินสถานที่เกิดเหตุและผู้บาดเจ็บ
2.ขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้างที่เกิดเหตุ โทรแจ้ง 1669 พร้อมบอกอาการผู้ป่วย
3.ช่วยเหลือตามการเจ็บ
สาเหตุของอุบัติเหตุ
รถชนกัน ชนสิ่งกีดขวาง รถคว่า
รถล้ม ถอยรถทับเด็ก ลืมเด็กไว้ในรถ
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายอุบัติเหตุจราจร
สอนและสาธิตวิธีการใช้ระบบขนส่งมวลชน
ไม่ให้เด็กขับขี่รถจักรยานยนต์ก่อนอายุ18ปี
รถจักรยานยนต์ ต้องใช้หมวกนิรภัยเสมอ
ไม่ให้เด็กโดยสารนั่งหรือยืนด้านหลังรถปิคอัพการโดยสาร
ก่อนถอยรถให้สำรวจหลังรถ
อายุน้อยกว่า 13 ปีต้องนั่งเบาะหลังเท่านั้น
เด็กทารกใช้ที่นั่งนิรภัยที่เบาะหลังโดยหันหน้า
5 ความร้อนลวกและอันตรายจากไฟฟ้า
การป้องกันอันตรายจากความร้อนลวกและอันตรายจากไฟฟ้า
อย่าวางของร้อนบนพื้น เ่่น หม้อน้าแกง เด็กวัยนี้เดิน วิ่งได้ อาจเกิดการสะดุดล้มลงในภา่นะที่บรรจุน้าร้อนได้
ห้องครัวเป็นจุดอันตราย ควรมีประตูกั้นเพื่อมิให้เด็กเข้าไปในบริเวณนั้นได้โดยเฉพาะในเวลาที่มีการทาอาหารหรือต้มน้าอยู่
. ต่อสายดินในบ้านให้ถูกวิธี และต่อเครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ
. ่่องเสียบปลั๊กควรอยู่สูงกว่ามือเด็ก หรือใ่้ที่เสียบป้องกันเด็กเล็ก
. เด็กต้องได้รับการสอน สาธิตให้รู้วิธีการใ่้เครื่องใ่้ไฟฟ้า
เครื่องมืองานบ้าน หรืองานอื่น ๆที่เด็กต้องปฏิบัติ
. ติดป้ายคาเตือน ข้อควรระวัง ในการใ่้เครื่องใ่้ไฟฟ้าทุก่นิด
เก็บของติดไฟง่าย หรือจุดไฟติดให้พ้นมือเด็กเ่่น ไฟแ่ค ดินปืน
การปฐมพยาบาลเบื้องติ้นเมื่อเกิดไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ไฟฟ้าชอต
ล้างด้วยน้าสะอาดที่อุณหภูมิปกติ่่วยลดการหลั่งสารที่ทาให้เกิดอาการปวดบริเวณบาดแผลได้
. หลังจากนั้นซับด้วยผ้าแห้งสะอาด แล้วสังเกตว่าถ้าผิวหนังมีรอยถลอก มีตุ่มพองใส หรือมีสีของผิวหนังเปลี่ยนไป ควรรีบไปพบแพทย์