Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มดลูกปลิ้น (uterine inversion), ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์:…
มดลูกปลิ้น
(uterine inversion)
การพยาบาล
ป้องกันภาวะมดลูกปลิ้น
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกปลิ้นในหญิงตั้งครรภ์
ทำคลอดรกหรือช่วยคลอดรกอย่างถูกวิธี
เกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ประเมิน V/Sทุก 5 นาทีและประเมินอาการแสดงของภาวะช็อก
ใช้ผ้าชุบน้ำเกลืออุ่นๆ คลุมและกดผนังมดลูกไว้
ประเมินปริมาณและลักษณะเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ดูแลให้ได้รับยาต่างๆ ตามแผนการรักษา
แนะนำเทคนิคการบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
ภายหลังการดันมดลูกกลับเข้าที่เดิม ประเมินV/S + ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการผ่าตัด
IV fluid เลือด และออกซิเจน
อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบภาวะที่เกิดขึ้น แผนการรักษาและการปฏิบัติตัว
คือ
ยอดมดลูกยุบตัวเข้าไปในโพรงมดลูก ทำให้ผนังด้านในของมดลูกปลิ้นออกมาเป็นด้านนอก
การวินิจฉัย
ตรวจหน้าท้อง
คลำไม่ได้ยอดมดลูก / มีรอยบุ๋ม
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องน้อยรุนแรง
ตรวจภายใน
คลำได้ก้อนเนื้อที่ปากมดลูก/ในช่องคลอด/นอกช่องคลอด
ชนิดของมดลูกปลิ้น
Complete uterine inversion (มดลูกปลิ้นชนิดสมบูรณ์)
โผล่พ้นนอกปากมดลูก
Incomplete uterine inversion (มดลูกปลิ้นชนิดไม่สมบูรณ์)
ไม่โผล่พ้นนอกปากมดลูก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
การใช้แรงดันยอดมดลูกระหว่างการคลอด
รกเกาะแน่น: placenta accrete, placenta increta
การรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ใช้ผ้าชุบน้ำเกลือคลุมและกดผนังมดลูกที่ปลิ้นออกมา
ดันมดลูกกลับภายใต้การวางยาสลบ
ในรายที่ช็อก แก้ไขภาวะช็อก >>> ดันมดลูกกลับ
อาการและอาการแสดง
เลือดออกมาก
เจ็บปวดมาก
คลำหน้าท้องได้ร่องบุ๋ม ไม่พบมดลูก
รู้สึกตุงในช่องคลอด
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
Hypovolemic shock >>> อาจเสียชีวิตได้
Pain shock
ติดเชื้อ
ภาวะโลหิตจาง
ตัดมดลูก >>> ไม่สามารถมีบุตรได้อีก
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์: ภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1-2 ของการคลอด :check:
นางสาวสุภาวรรณ จันทร์แดง รหัส 603901042 :star: