Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รกค้าง (Retained placenta), ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, นางสาวเกตน์นิภา…
รกค้าง
(Retained placenta)
ความหมาย
ภาวะที่รกหรือชิ้นส่วนของรกไม่คลอดออกมาภายหลังทารกคลอด
โดยปกติรกจะลอกตัวภายใน 30 นาที
อุบัติการณ์การเกิดรกติดแน่นพบได้ประมาณ 1:2,000 ถึง 1:3,570
ชนิดของรกเกาะลึก
Placenta increta
ภาวะที่รกผ่านถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก แต่ยังไม่ถึงเยื่อ serosa ซึ่งคือ peritoneum ที่หุ้มอยู่รอบมดลูก พบได้ประมาณร้อยละ 15
Placenta percreta
ภาวะที่รกฝังลึกลงไปตลอดชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนทะลุผนังมดลูก พบได้ประมาณร้อยละ 5
Placenta accreta
ภาวะที่รกฝังลึกลงไปตลอดชั้นของเยื่อบุมดลูก ไม่ผ่านถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก พบได้ประมาณร้อยละ 80
สาเหตุ
ขาดกลไกการลอกตัวของรก
รกปกติ แต่ไม่มีการหดรัดตัว > รกไม่ลอกตัวหรือลอกตัวไม่สมบูรณ์ > เกิดจากการคลอดล่าช้า กระเพาะปัสสาวะเต็ม การให้ยาระงับปวดมากเกินไป
รกผิดปกติ
รกเกาะแน่น (placenta adherent)
รกเกาะลึก (placenta accreta)
รกแบน (placenta membranous)
มีรกน้อยชนิด placenta succenturiata หรือ placenta spurium
ขาดกลไกการขับดัน ทำให้รกไม่อออกมาภายนอก
การหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ >>> รกลอกตวัแล้วแต่ออกมาไม่ได้ เช่น cervical clamp, constriction ring
รกลอกตัวแล้ว ผ่านโพรงมดลูกแล้ว แต่ไม่ออกมา ผู้คลอดไม่เบ่งขับรกออกมา
สาเหตุส่งเสริม
เคยมีประวัติรกค้าง
เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้รกค้าง เช่น C/S, myomectomy, ขูดมดลูก
ทำคลอดรกก่อนรกลอกตัว
มดลูกผิดปกติ เช่น bicornuate uterus
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการลอกตัวของรก หรือมีน้อย ระยะหลังคลอดรกนาน 15-30 นาที
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอดมากหลังคลอดรก
มีบางส่วนของรก/ membrane หายไป
มารดากระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันต่ำ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ช็อก
การวินิจฉัย
รกไม่ลอกตัว หรือ ระยะที่ 3 ของการคลอดนานกว่า 30 นาที
การรักษา
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยาเพื่อให้ปากมดลูกคลายตัว ได้แก่ adrenaline 20%MgSO4
ถ้าให้ยาแล้วรกไม่ลอกตัว พิจารณาล้วงรก และถ้ามีรกค้าง/ออกไม่หมด > ขูดมดลูก/ ตัดมดลูก
ผลกระทบต่อมารดา
เสี่ยงติดเชื้อจากการรกค้างหรือการล้วงรก
เสี่ยงตัดมดลูกจากรกฝังตัวแน่น
ตกเลือดหลังคลอด จากรกไม่ลอกตัว มดลูกไม่หดรัดตัว
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการตกเลือดและมดลูกปลิ้น เนื่องจากภาวะรกติดแน่น
มีโอกาสเกดิการตดิเชื้อหลงัคลอด เนื่องจากรกค้างและจากการล้วงรก
การพยาบาล
ตรวจดูอาการแสดงต่างๆของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์แล้ว
ถ้ามี แสดงว่ารกลอกตัวแล้วแต่ขาดกลไกธรรมชาติที่จะให้
รกคลอดออกมาเอง ได้แก่ แรงเบ่ง หรือขาดการช่วยเหลือการคลอดรก
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ภายในโพรงมดลูก
ถ้าตรวจดูแล้ว ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวสมบูรณ์ ห้ามทำ Modified crede maneuver
ตรวจการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ถ้าไม่มีการหดรัดตัว หรือมีการหดรัดตัวแต่ไม่แข็งเต็มที่ ให้สวนปัสสาวะ และใช้ฝ่ามือคลึงเบาๆที่ยอดมดลูก เพื่อกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้น ห้ามคลึงแรงเพราะอาจทำให้มดลูกหดรัดตัวแรงกว่าปกติ จากนั้นให้ผู้ทำคลอด PV
ประเมินสภาพปากมดลูกหรือกล้ามเนื้อส่วนล่างว่ามีความผิดปกติใดหรือไม่ จากนั้นลองทำคลอดรก ด้วยวิธี controlled cord traction ถ้าดึงแล้วยังติดอยู่ ห้ามดึงต่อเพราะอาจเกิดสายสะดือขาด หรือมดลูกปลิ้นได้
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ภายในช่องคลอด
รายงานแพทย์เตรียมทำหัตการล้วงรก
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
นางสาวเกตน์นิภา เกทะโล รหัส 603901003 เลขที่ 2
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3