Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่12 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน, นายมูฮำหมัด ละแลแม…
บทที่12
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
Birth asphyxia
ปัจจัยขณะที่ทำให้เกิดภาวะ Birth Asphyxia
ขณะตั้งครรภ
ติดยาเสพติดหรือสุรา
ตั้งครรภ์แฝด
เลือดออกในระยะตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
อายุก่อนกำหนดหรือเกินกำหนด
ขณะคลอด
การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
สายสะดือย้อย
การติดเชื้อ
มารดาได้รับ sedative
ท่าก้นหรือส่วนนำผิดปกติ
อาการ
ระยะแรกทารกจะหายใจเร็วขึ้นชั่วขณะแล้วจึงหยุดหายใจ มีอาการเขียวเนื่องจากออกซิเจนที่ไปกล้ามเนื้อหัวใจและสมองไม่เพียงพอ หัวใจเต้นช้า และความดันโลหิตต่ำ
แบ่งได้เป็น 3 ระดับ
Moderate Birth Asphyxia (Apgar Score 4-5)
Severe Birth Asphyxia (Apgar Score 0-3)
Mild Birth Asphyxia (Apgar Score 6-7)
Birth injuries
ชนิดของการบาดเจ็บจากการคลอด
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
พบบ่อย
Spinal injury
Brachial Plexus injury
Erb – Duchene paralysis
Facial nerve palsy
การรักษาพยาบาล
พยายามให้ทารกไม่เคลื่อนไหวเป็นพักๆ
การบาดเจ็บต่อกระดูก
กระดูกไหปลาร้าหัก
กระดูกต้นแขนหัก
การรักษาพยาบาล
ในกรณีกระดูกไหปลาร้าหัก หากกระดูกไม่แยกจากกัน ไม่จำเป็นต้องทำอะไร เพราะกระดูกสามารถเชื่อมต่อเองได้ตามปกติภายใน 4-6 สัปดาห์
กระดูกต้นขา
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Caput succedaneum
การพยาบาล
อธิบายให้พ่อแม่ของทารกเข้าใจเพื่อคลายความวิตกกังวลว่าอาการนี้จะค่อยๆหายไปได้เองภายใน 2-3 วันแรก
Cephalhematoma
การพยาบาล
อธิบายงลักษณะการเกิด ให้มารดาดูแลทารกในการป้องกันภาวะตัวเหลือง สังเกตอาการซีด หากมีรอยถลอกให้ดูแลอาการและรักษาความสะอาด ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโน
เลือดออกในกะโหลกศีรษะ
อาการ
ร่างกายอ่อนปวกเปียก
เซื่องซึม
moro reflex น้อยหรือไม่มีเลย
หายใจผิดปกติ
กระหม่อมโป่งตึง
ร้องเสียงแหลม
การพยาบาล
ดูแลทารกให้หายใจสะดวก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนเพียงพอ
ป้องกันอันตรายที่เกิดจากการชัก
ป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลทารกด้านจิตใจ
อธิบายให้บิดาและมารดาของทารกเข้าใจ
การบาดเจ็บบริเวณสันหลัง
การพยาบาล
ห้ามขยับหรือเคลื่อนย้ายทารก เพราะกระดูกที่หักอาจไปกดเส้นประสาท ทำให้เป็นอัมพาต
สาเหตุ
การคลอดยาก
ทารกคลอดเร็ว
ส่วนนำทารกมีขนาดใหญ่กว่าเชิงกราน
ผู้ทำคลอดไม่ชำนาญ
การคลอดท่าก้น
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ทารกตัวโต
การช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด
ระดับรุนแรง
อาการไม่ดีขึ้น พิจารณาใส่ Endotracheal tube
ถ้า HR < 60/นาที ให้ท าchest compression สลับกับ PPV ในอัตรา 3:1
ประเมินการหายใจ HR และ สีผิว
Chest compression กดนวดหัวใจ
Thumb finger technique
Two-finger technique
ระดับปานกลาง
ประเมินการหายใจของทารกและช่วยเหลือ
หายใจปกติ
ให้สังเกตการหายใจต่อไป
หายใจไม่ปกติ
ช่วยหายใจด้วย bag and mask
ประเมินทารกขณะช่วยหายใจ
หายใจปกติ หยุดการช่วยหายใจ
หายใจไม่ปกติ ช่วยหายใจด้วย bag and mask ต่ออีก 1 นาที
Stimulate breathing
หลังจากช่วยหายใจไป 1 นาที ทารกยังไม่หายใจ ให้ประเมิน Heart rate โดยฟังชีพจร
ดูดเสมหะในปากและจมูกด้วยลูกสูบยางแดง
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด
เมื่อมีผู้ใกล้คลอด เตรียมผ้าปราศจากเชื้อ 2 ผืน ปูบนเครื่องแผ่รังสีความร้อน (Radian warmer) เพื่อทำให้ผ้าอุ่น พร้อมทั้งเปิดเครื่องและเตรียมผ้าห่อเด็กอีก 2 ผืน ปูไว้บริเวณภายใต้เครื่อง Warmer
เตรียมเครื่องมือเรียงตามลำดับ
Initiate breathing
เตรียม Ambubag ต่อกับ Reservoir และ Mask ไว้ให้แน่น
เตรียม Stetoscope
เตรียมเครื่องวัดความอิ่มตัวของออกซิเจน
Maintain circulation
การนวดหัวใจ
การให้ยากระตุ้นการท างานของหัวใจ
Open Air way
เตรียมลูกยางแดง
เตรียมสาย Suction
Laryngoscope ต่อเข้ากับ Blades
เตรียม Endotracheal tube
Meconium aspiration syndrome
การพยาบาลทารกแรกเกิด
หลีกเลี่ยงการจัดท่าศีรษะต่ำกว่าลำตัว
ดูแลให้ทารกได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูดเสมหะเมื่อประเมินว่าพบทางเดินหายใจของทารกมีเสมหะ หลีกเลี่ยง Routine suction
ดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก ป้องกันภาวะ Cold stress
ประเมินภาวะหายใจลำบาก เช่น ปีกจมูกบาน
ให้ทารกได้พัก หลีกเลี่ยงการจับต้องที่เกินความจำเป็น
จัดทารกนอนหงาย คอแหงนเล็กน้อย
นายมูฮำหมัด ละแลแม 604N46135