Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาที่สองของเด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
ภาษาที่สองของเด็กปฐมวัย
ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาที่สอง
ภาษาที่เด็กหัดพูดเป็นภาษาแรกในครอบครัว
เรียกว่าภาษาแม่
ใช้กันในชีวิตประจำวัน
มีความแตกต่างกันในแต่ละถิ่นตามภูมิภาค
เป็นภาษาถิ่นในตระกูลไทยที่ใช้กันโดยทั่วไป
ภาษาไทยถิ่นตะวันออก
ภาษาไทยโคราช
ภาษาไทยถิ่นใต้
ภาษาตากใบ
ภาษาไทยถิ่นเหนือ
ภาษานครไทย
แต่ละถิ่นมีความแตกต่างกัน
การออกเสียง
คำศัพท์
ความหมาย
โครงสร้างประโยค
ภาษาแรกของคนไทย
คือภาษาไทย
ภาษาแรกของคนไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
คือภาษายาวี
ในชุมชนชาวเขาเผ่าทางภาคเหนือ
ใช้ภาษากะเหรี่ยง
ภาษาแม้ว
เด็กไทยที่ชาวต่างชาตินำไปเลี้ยง
เด็กจะมีภาษาแม่เป็นภาษาอังกฤษ
บางครอบครัวเด็กจะใช้ภาษาที่ 2 หรือ 3 ภาษาไปพร้อม ๆ กัน
ปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลง และการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ Education 4.0
คาดหวังให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้น
ภาษาอังกฤษ
ภาษาจีน
ภาษาญี่ปุ่น
ดังนั้นการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศจึงสามารถสอดแทรกเนื้อหาผ่านกิจกรรมภาษาในรูปแบบที่หลากหลาย
ความหมายของการสอนภาษาที่ 2
ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาแม่
เป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในประเทศอื่น
ภาษาที่เรียนรู้ในประเทศเป็นภาษาแรก
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาที่สอนอยู่ในหลักสูตรของโรงเรียน
ใช้เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกับเจ้าของภาษา
ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนสื่อสารความคิดและประสบการณ์
ให้สื่อสารเข้าใจกัน
ความสำคัญของภาษาที่ 2
เด็กต้องใช้ภาษาในการสื่อสารในโรงเรียนและหน่วยงานราชการ
เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาที่ 2 ของเด็กปฐมวัย
การรับรู้ภาษา
กระบวนการรับภาษา
ไม่เน้นกฎเกณฑ์ของภาษา
การเรียนรู้ภาษา
กระบวนการเรียนรู้แบบรู้ตัวรู้กฎเกณฑ์
ระมัดระวังในการใช้กฎเกณฑ์ทางภาษา
สามารถที่จะบอกเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ได้
หลักการสอนภาษาที่ 2 สำหรับเด็กปฐมวัย
เน้นใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
เรียนรู้กฎเกณฑ์ของภาษา
การเรียนรู้ภาษาตามธรรมชาติอย่างรู้ตัวและไม่รู้ตัว
จัดกิจกรรม
ให้เกิดการรับรู้ภาษา
ให้สามารถใช้ภาษาสื่อสารในชีวิตจริงได้
สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการเรียนรู้
ทำให้เด็กมีแรงจูงใจในการเรียนรู้
แนวทางการจัดประสบการณ์ภาษาที่ 2 สำหรับเด็กปฐมวัย
ความแตกต่างของการเรียนรู้ภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สอง ประกอบด้วยความแตกต่างในด้านต่าง ๆ
ด้านกิจกรรมที่เป็นแบบแผน
ด้านแรงเสริม
ด้านประสบการณ์ชีวิต
ด้านลาดับของทักษะ
ด้านการเปรียบเทียบและการสรุปหลักเกณฑ์
ด้านวัฒนธรรม
ด้านภาษาศาสตร์
ด้านเนื้อหาที่กาหนด
ด้านเวลา
ด้านความรับผิดชอบของครู
ปัญหาการสอนภาษาที่ 2 ในประเทศไทย
ให้ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสภาวการณ์ชีวิตประจาวัน
วัฒนธรรม
เรียกปัญหานี้ว่าภาษาครึ่งๆกลางๆ
สอดคล้องกับ สกุตนาบ-แคงกาส และ ทูคอมมา
คือ ปัญหาที่เด็กไม่พัฒนาภาษาใดภาษาหนึ่ง
แผนการจัดประสบการณ์บูรณาการภาษาอังกฤษสาหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์บูรณาการการใช้ภาษาอังกฤษ
อายุ 5 - 6 ปี
ใช้หลักสูตรภาษาอังกฤษพิงกุ
รับการวิจัยพัฒนาโดย Liguaphone Group
ด้านภาษาจากสหราชอาณาจักร
การควบคุมกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009
ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO9001 : 2008 ในปี ค.ศ. 2011
จาก Bureau Veritas
ที่มุ่งพัฒนาทักษะการฟังพูดอ่านและเขียนตามมาตรฐานสากล