Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไวรัสตับอักเสบบี กับการตั้งครรภ์, นางสาวอมรรัตน์ ฟ้าแลบ ชั้นปีที่ 3…
โรคไวรัสตับอักเสบบี
กับการตั้งครรภ์
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Hepatitis B virus ซึ่งมีระยะฟักตัวนานประมาณ 50-180 วัน จึงเป็นพาหะได้อย่างเรื้อรัง
วิธีการได้รับเชื้อ
เพศสัมพันธ์
สัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่ง อุจจาระ ปัสสาวะ
ใช้สิ่งของร่วมกัน เช่น มีดโกน เข็มฉีดยา
ทารกได้รับเชื้อจากการผ่านทางรก
ทารกได้รับเชื้อขณะคลอด
อาการ
บางรายอาจไม่มีอาการ
บางรายมีอาการคล้ายไข้หวัด ต่อมามีอาการตาและตัวเหลือง อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหารรับประทานอาหารไม่ได้
ผลของการติดเชื้อตับอักเสบบี
มารดา
เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
แท้งบุตร
มีอาการของการติดเชื้อไวรัส เช่น มีไข้ ตาตัวเหลือง ตรวจพบตับม้ามโต
ทารก
ตายในครรภ์หรือตายคลอดจากการติดเชื้อขณะคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด จาการให้นมแม่
ติดเชื้อจากมารดาจากมีการแตกของเส้นเลือดจากรก
เป็นพาหะของโรคโดยไม่มีอาการ
เป็นตับอักเสบเฉียบพลันแรกคลอด(มักพบHBsAg + ก่อนอายุ 2 เดือน)
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการและอาการแสดง
เจาะเลือดตรวจหาHBsAg, HBeAg หากผล HBeAg เป็นบวกมีโอกาสที่ทารกจะติดเชื้อจากมารดาได้สูง
เจาะเลือดหา HBsAb, HBeAb หากได้ผลบวกหมายถึงการมีภูมิคุ้มกันต่อตับอักเสบบี
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ
ไวรัสตับอักเสบบี
ระหว่างคลอด
สามารถคลอดตามปกติหรือผ่าคลอด
ควรหลีกเลี่ยงสูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยคลอดโดยไม่จำเป็น
หลังคลอด
รับประทาน TDF ขนาด 300 mg. รับประทานครั้งละ 1 เม็ด เมื่ออายุครรภ์ครบ 28 - 32 สัปดาห์ และให้ต่อเนื่องไปจนครบ 4 สัปดาห์หลังคลอด
เมื่อหยุดยา TDF หลังคลอด 6 - 8 สัปดาห์ ควรตรวจดูระดับ ALT
ก่อนคลอด
**
ผล HBsAg เป็นลบ
ให้ฝากครรภ์ตามปกติ
ผล HBsAg เป็นบวกให้ TDF ขนาด 300 mg. รับประทานครั้งละ 1 เม็ด เมื่ออายุครรภ์ครบ 28 - 32 สัปดาห์ และให้ต่อเนื่องไปจนครบ 4 สัปดาห์หลังคลอด
การดูแลทารก กรณีมารดา
เป็นผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ระหว่างตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงหัตถการสูงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ที่ทำแก่ทารกในครรภ์ ได้แก่ Chorionic samping และ Amniocentesis อาจทำการตรวจด้วยวิธี non-invasive prenatal testing ทดแทน
หลังคลอด
ให้ HBIG 0.5 ml.เข้ากล้ามโดยเร็วที่สุด
ให้ HB Vaccine 0.5 ml. เข้ากล้ามโดยเร็วที่สุด ภายใน 24 ชม
หากทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2000 กรัม สามารถฉีด HB ได้ทันที
การติดตามทารกกรณีมารดา
เป็นผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ติดตามทารกเมื่ออายุครบ 12 เดือน เพื่อเจาะเลือดตรวจ HBsAg และ Anti-HBs
กรณี HBsAg เป็นบวก
ให้ถือว่าเด็กทารกดังกล่าวติดเชื้อ ส่งต่อพบกุมารแพทย์ดูแลรักษา
กรณี HBsAg เป็นลบ และ Anti-HBs เป็นลบ
เด็กทารกไม่ติดเชื้อ และไม่มีภูมิคุ้มกัน ให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี ซ้ำอีก 3 เดือน โดยเข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และเข็มที่ 3 ห่างจากเข็มแรง 6 เดือน
กรณี HBsAg เป็นลบ และ Anti-HBs เป็นบวก
เด็กทารกไม่ติดเชื้อ และมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบี
การดูแลหญิงตั้งครรภ์และทารกเพื่อป้องกันการถ่ายทอดโรคไวรัสตับอักเสบบี จาก แม่ สู่ ลูก
ระหว่างคลอด
หลีกเลี่ยงการคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ
หลังคลอด
หญิงตั้งครรภ์
ดูแลหลังหยุดยา TDF,ดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง
ทารก
การให้ HBIG ,การให้ HB vaccine,ตรวจหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี
ก่อนคลอด
-หญิงตั้งครรภ์
ตรวจหากาติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี,การให้ยาต้านไวรัส TDF
ทารก
หัตถการในทารกที่ควรหลีกเลี่ยงเมื่อมารดาติดเชื้อ
นางสาวอมรรัตน์ ฟ้าแลบ ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 89