Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ การจัดการความรู้ การสร้างความก้าวหน้าและการพัฒนาวิชาชีพครู -…
บทที่ ๕
การจัดการความรู้ การสร้างความก้าวหน้าและการพัฒนาวิชาชีพครู
การจัดการความรู้
.
• ประเภทของความรู้
ความรู้เฉพาะตัว หรือความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge)
ความรู้ทั่วไป หรือความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
• บทบาทของครูในการจัดการความรู้
.
๑) บทบาทในการจัดการความรู้ของตนเอง
๒) บทบาทในการจัดการความรู้ในชั้นเรียน
๓) บทบาทในการจัดการความรู้ของโรงเรียน
๔) บทบาทในการจัดการความรู้ในชุมชน
• เทคนิคในการจัดการความรู้ของครู
.
๑) ขั้นการกำหนดความรู้
๒) ขั้นการแสวงหาความรู้
๓) ขั้นการสร้างความรู้
๔) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๕) ขั้นการเก็บความรู้
๖) ขั้นการนำความรู้ไปใช้
การสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
๒.๑ การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
.
๒.๑.๑ ความหมายของบุคคลแห่งการเรียนรู้
บุคคลที่มีนิสัยใฝ่เรียนใฝ่รู้มีวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองที่เป็นระบบใช้วิธีการที่หลากหลาย วิธีการเรียนรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
๒.๑.๒ ความสำคัญของบุคคลแห่งการเรียนรู้
๒.๑.๓ ลักษณะการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
๒.๑.๓.๑ ความกระตือรือร้นและความสนใจในการเรียนรู้
๑) ความกระตือรือร้น
๒) ความสนใจในการเรียนรู้
๒.๑.๓.๒ รักการอ่านและค้นคว้าหาความรู้
๑) รักการอ่าน
๒) ค้นคว้าหาความรู้
๓) แสวงหาความรู้ข้อมูลข่าวสารได้หลายวิธี
๒.๒ การการเป็นผู้นำทางวิชาการ
๒.๒.๑ ผู้นำทางการศึกษา
๒.๒.๒ ประเภทของผู้นำทางวิชาการ
๑) ผู้นำทางวิชาการโดยทางอ้อม
๒) ผู้นำทางวิชาการโดยตรง
การพัฒนาวิชาชีพครู
.
สมัยก่อนมีพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๕
สมัยมีพระราชบัญญัติครู
สมัยปัจจุบัน
ความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ (Knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อมูลไปสู่สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้และปัญญาในที่สุด