Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - Coggle Diagram
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ความหมาย
การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก (Developmental Stimulation)
การกระทำหรือการจัดกิจกรรมที่กระตุ้นเความสามารถและทักษะในการทำหน้าที่ตามพัฒนาการของเด็กที่มีพัฒนาการช้า หรือเด็กที่อยู่ รพ. นานๆ
พื่อฟื้นฟูความสามารถและทักษะในการทำหน้าที่ให้ใกล้เคียงเด็กปกติที่อยู่ในวัยเดียวกัน
การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (Developmental Promotion)
การกระทำ หรือการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะและความสามารถในการทำหน้าที่ตามพัฒนาการของเด็กที่มีพัฒนาการปกติ
เพื่อให้เด็กสามารถบรรลุขั้นพัฒนาการนั้นได้โดยง่ายหรือได้เร็วขึ้น
แนวคิดในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
พันธุกรรม
เป็นตัวกาหนดศักยภาพของร่างกายและสติปัญญา
สิ่งแวดล้อม
เป็นตัวพัฒนาเสริมแต่งหรือบั่นทอนศักยภาพที่ได้มา ได้แก่ อาหาร สภาพอารมณ์ สุขภาพทางกายและจิตของมารดาในระหว่างตั้งครรภ์ ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู ของเล่น **ของเล่น ไม่จำเป็นต้องราคาแพง ควรเป็นของเล่นที่เหมาะสมกับระดับพัฒนาการ
สติปัญญา
สามารถดัดแปลง ปรับปรุงได้ด้วยการเลี้ยงดู
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ตัวเด็ก
ผู้ดูแลเด็ก
จำนวนครั้งที่ได้รับการกระตุ้น
ระยะเวลาในการกระตุ้น
สภาพแวดล้อม
ขั้นตอนของการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
การประเมินพัฒนาการ
การวิเคราะห์ปัญหา
วางแผนการจัดโปรแกรมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ให้การกระตุ้นพัฒนาการเด็กตามแผนที่วางไว้อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง จนบรรลุขั้นตอนของพัฒนาการนั้นๆ
การประเมินผล
วิธีการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
ด้านการใช้้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ด้านความเข้าใจและการใช้ภาษา
ด้านการช่วยเหลือตนเอง-สังคม
ด้านประสาทสัมผัส
ด้านการเคลื่อนไหวแขนขาและข้อต่อ
อายุ
อายุแรกเกิด – 6 เดือน
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
คอแข็งขณะจับนั่ง
นั่งได้โดยมีคนประคอง
ขณะอุ้มขึ้น จับเด็กโยกและแกว่งตัวบ้าง
บางครั้ง
อุ้มชูให้บ่อยครั้ง
เล่นกับมือและเท้าของเด็กในขณะที่เด็กตื่น
อยู่และเปลี่ยนท่าให้บ่อยๆ
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
มองตามวัตถุเคลื่อนที่
จับของเล่นที่แตะให้ตรงปลายนิ้วได้
คว้าจับก้อนไม้ขนาด 1 นิ้ว ได้พร้อมกันทั้ง 2 มือ
ติดภาพที่มีความเข้มของแสงแตกต่างกัน เช่น ภาพขาวดำที่มีแถบขาวเส้นดำ ไว้ข้างที่นอนเด็ก
เขย่าของเล่นที่มีเสียงให้หัดจับทิศทางของเสียง
หัดให้หยิบจับขนมปังกรอบเข้าปาก
พัฒนาการด้านภาษา
ตอบสนองต่อเสียงกระดิ่ง
ออกเสียงที่ไม่ใช่การร้องไห้
หันตามเสียง
ใช้ของเล่นที่มีเสียงเมื่อเคาะ เช่น กระดิ่ง
ร้องเพลงกล่อมเด็ก
พูดด้วยขณะให้นมหรือป้อนอาหาร
พัฒนาการด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
มองหน้าผู้ที่อยู่ใกล้ชิด
ยิ้มตอบ
พยายามกระตุ้นให้เด็กมองหน้าประสานตาเมื่อพูดด้วย
พาไปเดินเล่นนอกบ้าน ให้คุ้นเคยกับคนแปลกหน้า
อายุ 6 – 12 เดือน
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
ยืนตั้งไข่ได้
เกาะเดิน
วางของเล่นไว้บนเก้าอี้เตี้ยๆ หรือโต๊ะเตี้ยๆ เพื่อ
กระตุ้นให้เด็กลุกขึ้นยืน และเกาะเดินไปหยิบ
ของเล่นที่ลากได้
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
หยิบด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วอื่นๆ
หัดจับช้อน ป้อนอาหาร และถือถ้วยน้ำดื่ม
หยิบของใส่กล่องหรือกระป๋องหรือขวดและ
เทออก
พัฒนาการด้านภาษา
เรียกพ่อแม่ได้โดยเจาะจงแต่สาเนียงอาจไม่ชัดเจน
เข้าใจถ้อยคำง่ายๆที่คุ้นเคยในชีวิตประจำวัน (เช่น สาธุ บ๋าย-บาย)
พูดคุยกับเด็กในขณะที่ทำกิจวัตรประจำวัน
ชี้บอกวัตถุหรือบุคคลเมื่อพูดคำเหล่านั้น พูดช้าๆอย่างชัดเจน
พัฒนาการด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
เล่นจ๊ะเอ๋,ตบมือ
ชี้บอกเมื่อต้องการของ
เล่นเกมส์ง่ายๆ และร้องเพลงกล่อมเด็ก
หัดให้โบกมือลา ไหว้ทักทาย
อายุ 1 – 2 ปี
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
เดินได้ดี
ขว้างลูกบอล
กระโดด 2 ขา อยู่กับที่ได้
เล่นเกมส์ขว้างลูกบอล
ฝึกให้ทรงตัวด้วยบั้นเอวและเข่า หัดให้ย่อเข่าคุกเข่า
หัดให้คลานขึ้นบันได
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ขีดเขียนด้วยดินสอโดยตั้งใจ
ลอกแบบเส้นตรงในแนวดิ่ง
ดินสอสีน้ำมัน สีเทียนสำหรับลากเส้น สำหรับระบายสี
ของเล่นที่แกะออกและสวมใส่หรือติดกันได้เพื่อฝึกการสมดุลและควบคุมกล้ามเนื้อมือ เช่น แกะ-กลัดกระดุม รูดซิป เลโก้
พัฒนาการด้านภาษา
พูดคำติดต่อกัน 2 คำได้ เช่น แม่จ๋า กินข้าว
ทำตามคำสั่งง่ายๆได้
อ่านหนังสือนิทานให้ฟัง
ชี้วัตถุ สิ่งของที่คุ้นเคยขณะที่เรียกชื่อของนั้นๆ
พัฒนาการด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
ใช้ช้อนรับประทานอาหาร หกเพียงเล็กน้อย
ช่วยงานบ้านง่ายๆได้
กระตุ้นให้เด็กป้อนข้าวตัวเองด้วยช้อน
ให้เล่นซักผ้าหรือตุ๊กตาในอ่างที่เด็กกำลังอาบน้ำอยู่
อายุ 2 – 4 ปี
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
กระโดด 2 ขาพร้อมกับข้ามสิ่งของ
ยืนทรงตัวบนขาข้างเดียว 5 วินาที
เล่นเกมที่มีการกระโดด วิ่ง กระโดดขาเดียว
เล่นในสระน้า เล็ก หรืออ่างขนาดใหญ่
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ต่อก้อนไม้ 8 ก้อน
วาดรูปคนมีส่วนต่างๆของร่างกาย 3 ส่วน
(ศีรษะ ตา ลำ ตัว แขน ขา)
วางเรียงก้อนไม้ที่มีขนาดต่างๆกัน เรียง
ตามลำดับ
ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้ง ระบายสีและวาดรูป
พัฒนาการด้านภาษา
บอกชื่อเล่นและชื่อของตนเองได้
เข้าใจความหมายของหนาว เหนื่อย หิว
เล่านิทาน นิยายสำหรับเด็ก เปิดเทปนิทานเพลงให้ฟัง
ตั้งใจฟังเด็กพูดโดยไม่เร่งหรือดุเมื่อพูดผิด
พัฒนาการด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
เล่นเกมส์ที่มีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น วิ่งไล่จับ ซ่อนหา
ติดกระดุมเสื้อได้
ให้เล่นเกมส์ที่มีกฎเกณฑ์ง่ายๆ เช่น ต้องผลัดกันเล่น
ให้เวลาเด็กในการช่วยเหลือตัวเองในการแต่งตัว โดยไม่เร่งรัด
การกระตุ้นทารก
การกระตุ้นประสาทสัมผัสทางกายของทารก
เพื่อกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านต่างๆ
การเตรียมการกระตุ้น
สถานที่ ควรไม่มีลมโกรก เพราะต้องถอดเสื้อผ้า
ใช้เวลาวันละ 15 นาที หลังอาบน้ำ
แต่ละท่าทำซ้ำๆ กันประมาณ 5 ครั้ง
ทาน้ำมัน/โลชั่น/แป้ง ป้องกันการระคายเคือง
ข้อควรระวัง
ไม่ควรทำหลังจากเด็กอิ่มใหม่ๆ อย่างน้อยหลังอาหาร 1 ชม
นวดบริเวณศีรษะและหน้า : ช่วยผ่อนคลายความตึง
เครียดของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า
แบ่งออกเป็น 2 ท่า คือ
ท่าที่ 1
ท่าที่คาดผม
ท่าที่ 2
ท่ายิ้มแฉ่ง : ช่วยกระตุ้นการกิน การดูดกลืนของทารก
นวดอก
ท่าที่ 3
ท่าเปิดหนังสือ :ช่วยเสริมจังหวะการทำงานของปอดและหัวใจ
นวดแขน
ท่าที่ 4
ท่ารถเมล์จอดป้าย: ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดบริเวณกล้ามเนื้อแขนและมือ และกระตุ้นระบบการไหลเวียนเลือด
ท่าที่ 5
ท่าวนไปรอบๆ
นวดท้อง(ท่า I Love You) : กระตุ้นระบบทางเดินอาหาร
ท่าที่ 6
ท่า I
ท่าที่ 7
ท่า LOVE
ท่าที่ 8
ท่า YOU
นวดขา
ท่าที่ 9
ท่าคลึงไปมา
ท่าที่ 10
ท่าบีบนวดไปรอบๆ
ท่าที่ 11
ท่าเดินหน้า ถอยหลัง
การกระตุ้นประสาทการมองเห็นของทารก
เพื่อกระตุ้นการมองเห็น
เพื่อส่งเสริมให้เด็กกระตือรือร้น
เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางสมอง
วิธีการกระตุ้น
ติดภาพขาวดำที่มีลักษณะคล้ายแถบหมากรุกไว้ใกล้ที่นอนเด็ก
หาของเล่นที่เป็นรูปทรงเลขาคณิต มีแถบขาวดำให้เอื้อมจับ
แขวนโมบายที่เป็นสีขาวดำ
เด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไปควรหาของเล่นที่มีสีสันตัดกันมาให้เล่น
การกระตุ้นประสาทการได้ยิน
หมั่นพูดคุยกับเด็ก
เปิดเพลงที่มีดนตรีเบาๆให้ฟังบ้างเป็นบางครั้งเมื่อเด็กจะนอน
การกระตุ้นประสาทการได้กลิ่น
หาดอกไม้ที่มีสีสันสดใสและมีกลิ่นต่างๆมาให้เด็กฝึกแยกกลิ่นต่างๆ
หากลิ่นที่แตกต่างกัน มาให้เด็กแยกแยะกลิ่น
ควรจัดสภาพแวดล้อมของเด็กให้ปราศจากกลิ่น โดยเฉพาะเด็กป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
การกระตุ้นประสาทการรับรส
หยดน้ำเจือน้ำตาลลงบนลิ้นเด็ก
ใช้นิ้วเปียกแตะเกลือ วางบนลิ้นเด็ก
หยดน้ำมะนาว 1 - 2 หยด บนลิ้นเด็ก
หยดน้ำต้มมะระ 1 – 2 หยด บนลิ้นเด็ก
การกระตุ้นการเคลื่อนไหวแขนขาและข้อต่อ
**สำหรับเด็กที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ จำเป็นต้องกระตุ้น
เพื่อป้องกันข้อติดยึด
เพื่อคงไว้ซึ่งการเคลื่อนไหวตามปกติ
วิธีการกระตุ้น
Abduction
Adduction
Flexion
Circonduction
Rotation
Internal rotation
External rotation
Extension
เทคนิคกำรปรับพฤติกรรม
เพิ่มพฤติกรรม (Increasing behavior)
เป็นการช่วยให้พฤติกรรมที่เด็กมีอยู่แล้วแต่ยังมีน้อยมาก ให้ความถี่ของพฤติกรรมสูงขึ้น เช่น เพิ่มให้เด็กใช้เวลาอ่านหนังสือเรียนเป็นวันละ 1 ชม.ทุกวัน เทคนิคที่นำมาใช้ เช่น การให้แรงเสริมทางบวก การให้แรงเสริมทางลบ
สร้างพฤติกรรม (Teaching behavior)
เป็นการสอนให้เด็กทำพฤติกรรมที่ไม่เคยทำมาก่อน หรือทำได้แต่ไม่สมบูรณ์ ให้ทำพฤติกรรมนั้นได้อย่างสมบูรณ์ เช่น สอนให้ใส่เสื้อผ้าเอง เทคนิคที่นำมาใช้ เช่น การสอนและฝึกให้ทำ (Shaping) การชี้แนะทันที (Prompting) และการเป็นแม่แบบตัวอย่างให้เด็กเลียนแบบ (Modeling)
ลดพฤติกรรม (Reducing or Eliminating behavior)
เป็นการลดหรือขจัดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น ลดพฤติกรรมก้าวร้าว รังแกผู้อื่น เทคนิคที่ใช้ เช่น การหยุดยั้ง (Extinction) โดยการงดให้แรงเสริม การแยกอยู่ตามลำพัง (Time out) การลงโทษ การลดความรู้สึกกลัว (Fear desensitization)