Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร, นางสาว กุลชา มีีจีน เลขที่ 4…
บทที่ 2 องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร
ลักษณะทั่วไปของการบริหาร (Management or Administration)
กลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่วางแผนการจัดองค์การ จัดคนเข้าทำงาน สั่งการและควบคุม
การทำงานให้กิจกรรมขององค์การดำเนินไปตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยที่การบริหารจัดการของเหล่าผู้บริหารเป็นปัจจัยกำหนดประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององค์การ
โดยตรง ผู้บริหารทุกองค์การต่างเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการระบบย่อย ๒ ระบบคือ
1.ระบบงาน ซึ่งก็คือทรัพยากรที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ทรัพย์สิน เงินทุน เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์
2.ระบบคน ก็คือ มนุษย์หรือทรัพยากรบุคคล ที่เป็นผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ทรัพยากรต่างๆ หรือสิ่งของเพื่อที่จะก่อให้เกิดผลสำเร็จให้กับองค์การ
กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process)
เฮนรี่ ฟาโย (Henri Fayol)
ซึ่งในหนังสือนั้นได้จำแนกหน้าที่ของนักบริหารเอาไว้ ๕ ประการ
P คือ Planning หมายถึง การวางแผน
O คือ Organizing หมายถึง การจัดการองค์การ
C คือ Commanding หมายถึง การบังคับบัญชา
C คือ Co-ordinating หมายถึง การประสานงาน
C คือ Controlling หมายถึง การควบคุม
ลูเธอร์ กูลลิค (Luther Gulick) สาระสำคัญของแนวคิด คือ ประสิทธิภาพอันเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดของการบริหาร และเพื่อให้การบริหารงานในทุกหน่วยงานมีประสิทธิภาพ จะต้องมีการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมและความจำเป็น หรือความถนัดของคนงาน
Directing การอำนวยการ เป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน
Coordinating การประสานงานให้ส่วนต่างๆของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน
Staffing การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน
Reporting การรายงาน เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้
ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
Organizing การจัดองค์การเป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน
Budgeting งบประมาณ
Planning การวางแผน เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ
CHESTER BARNARD เน้นความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ โดยมีการกำหนดให้นักบริหารมีหน้าที่สำคัญ
ดูแลติดต่อประสานงานภายในองค์การ
รักษาสมาชิกภายในและชักจูงสมาชิกใหม่
กำหนดเป้าหมายขององค์การ และตีความเพื่อแสดงให้สมาชิกในองค์การได้รับรู้
ใช้ศิลปะเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
ทำงานด้วยความรับผิดชอบ โดยใช้หลักของศีลธรรม
ฮาลอร์ดดี คูลย์ (Haroled D.Knootz) ได้จำแนกหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติของนักบริหารเอาไว้เป็น
กระบวนการ
3.การอำนวยการ (Directing)
การสั่งการ การควบคุม การนิเทศ และการติดตามประเมินผล เพื่อให้งานดำเนินไปตามแผน
หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผู้บริหารมีหน้าที่ต้องเป็นผู้อำนวยการหรือผู้นำโดยการออกคำสั่งแนะนำชี้แจงต่อ
2.การจัดองค์การ (Organizing)
1.จัดวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดโครงสร้างองค์การ
2.จัดทำแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจำหน่วยงาน
3.ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
4.มอบหมายการทำงาน
5.จัดแบ่งประเภทผู้รับบริการออกเป็นประเภทต่าง ๆ
6.มอบหมายงานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้ ความสามารถอย่างเหมาะสม องค์ประกอบโครงสร้างองค์กรมี ๓ ประการ คือ
6.1ความซับซ้อน
6.2 การสร้างแบบมาตรฐาน
6.3 การรวมศูนย์อำนาจ
4.การประสานงาน Co (Co-ordination)
การจัดระเบียบวิธีในการทำงาน เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานหรือในองค์การได้ร่วมมือกันปฏิบัติหน้าที่ได้ตามภาระงานของตนเอง โดยการจัดวางระเบียบการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน ขัดแย้ง หรือเหลื่อมล้ำกัน
1.การประสานงานอย่างเป็นทางการ
2.การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ
1.กระบวนการวางแผน (Planning)
ประเภทของแผน
1.แผนระยะสั้น ๑-๓ปี เช่น แผนการปฏิบัติงานประจำวัน
2.แผนระยะกลาง ระยะเวลา ๕-๑๐ปี เป็นการวางเป้าหมายให้ครอบคลุมในระยะ ๕ปี
3.แผนระยะยาวใช้เวลาตั้งแต่ ๑๐ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการวางแผนและตัดสินใจของผู้บริหารการพยาบาลในระดับสูงขององค์กร
4.แผนฉุกเฉิน ขึ้นอยู่กับความจำเป็นและสภาพแวดล้อม
5.แผนโดยจำแนกลำดับขั้นของการจัดการ
5.1แผนกลยุทธ์ (Strategic planning) เป็นการวางแผนในระยะยาว
5.2 แผนโครงการ (Project planning) เป็นการวางแผนริเริ่มงานใหม่
5.3แผนปฏิบัติการ (Operational planning)
5.การควบคุม (Controlling)
การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนหรือแนวทางที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์การควบคุมงาน
1.ช่วยใช้ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน มีความรับผิดชอบ
2.ประสิทธิภาพการทำงานและการทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามแผนงาน
3.เกิดการค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จริง
องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component)
1.มีเป้าหมาย (Goal)
มีวัตถุประสงค์ที่แน่นอนในการบริหารองค์การผู้บริหารจะต้องมีการ
กำหนดทิศทางหรือวัตถุประสงค์ของการทำงานไว้ชัดเจน
2.มีปัจจัยในการบริหาร (Factor of Management)
2.3วัสดุอุปกรณ์ (Materials) เป็นปัจจัยนำเข้าผู้บริหารต้องจัดหาให้พอกับความต้องการและใช้ให้สิ้นเปลืองน้อยที่สุดหรือเกิดประโยชน์สูงสุด
2.4เทคนิควิธี (Method) การจัดการหรือเทคนิคในการบริหารจะใช้เทคนิควิธีการแบบใดที่
สามารถสนับสนุนให้การบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2เงิน หรือ งบประมาณ (Money) การบริหารเงิน จะจัดสรรเงินอย่างไรให้ใช้จ่ายต้นทุนน้อย
ที่สุดและให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
2.5เครื่องมือ (Machine) หรือเครื่องจักรกล
2.1คน หรือ บุคลากร (Man) บุคลากรที่จะปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และมีพฤติกรรมเหมาะสม ที่จะเป็นผู้นำด้านสุขภาพ
3.ลักษณะของการบริหาร (Management Style)
การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และทั้งศิลป์ที่ผู้บริหารจะต้องนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กร จนมีคำกล่าวที่ว่า “ที่ใดมีผู้นำที่ดี ที่นั่นก็จะมีความสำเร็จ”
นางสาว กุลชา มีีจีน เลขที่ 4 (603101004)