Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาสมุนไพร - Coggle Diagram
ยาสมุนไพร
ขมิ้นชันแคปซูล
-
กลไกการออกฤทธิ์
•มีฤทธิ์ขับลม ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและล้าไส้ สมานแผลในกระเพาะอาหาร กระตุ้นการหลั่งสารเมือกมาเคลือบ
•มีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหารโดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อบริเวณที่เป็นแผล กระตุ้นการหลั่ง mucin มาเคลือบกระเพาะอาหารและยับยั้งการหลั่งน้้าย่อยต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลจาก turmerone และ curcumin แต่มีฤทธิ์ขับน้้าดี
-
-
-
-
-
ข้อควรระวัง
-
-
-
•ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (Anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด(Antiplatelets)
-
•ควรระวังการใช้ร่วมกับยารักษาโรคมะเร็งบางชนิด เช่น doxorubicin, chlormethine, cyclophosphamide และ camptothecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยาดังกล่าว
คำแนะนำ
- ควรใช้เมื่อมีอาการท้องอืดท้องเฟ้อ เนื่องจากมีกรดในกระเพาะอาหาร และมีอาการแสบท้องร่วมด้วย
- การรักษาแผลในกระเพาะอาหารควรใช้คู่กับฟ้าทะลายโจรจึงจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ชื่อทางการค้า
KHAOLAOR CURMIN 500, อภัยเบศร แคปซูลขมิ้นชัน, แหลมทองการแพทย์ ขมิ้นชันชนิดแคปซูล, ขมิ้นชันชนิดแคปซูล อ้วยอันโอสถ, ขมิ้นชัน แคปซูล
ยาเม็ดฟ้าทะลายโจร
-
กลไกการออกฤทธิ์
สารสกัดฟ้าทะลายโจร ซึ่งมีสารส้าคัญ คือ andrographolide และอนุพันธ์ต่างๆ มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ และมีผลควบคุมการท้างานของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน ส่งผลในการลดการอักเสบและเพิ่มภูมิคุ้มกัน นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของล้าไส้ ต้านเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของอาการท้องเสียอีกด้วย
ข้อบ่งใช้
- ช่วยรักษาอาการไอ เจ็บคอ ป้องกันและบรรเทาหวัด
-
-
-
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้หญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร และในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอ เนื่องจากมีการติดเชื้อแบคทีเรีย เกิดอาการรุนแรง เช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง หนาวสั่น และห้ามใช้ในผู้ที่มีการแพ้ฟ้าทะลายโจร หากมีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร เช่น เกิดผื่น ลมพิษ หน้าบวม ริมฝีปากบวม ให้หยุดใช้ยาทันที และห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรอีกต่อไป
คำแนะนำ
•ในต้นฟ้าทะลายโจรมีสารแอนโดรกราโฟไลด์ (Andrographolide) ซึ่งละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ แต่ละลายน้้าได้น้อย ดังนั้นต้ารับยาสมุนไพรฟ้าทะลายโจรสูตรยาดองเหล้าหรือยาทิงเจอร์จึงมีฤทธิ์แรงที่สุด ส่วนชนิดชงจะมีฤทธิ์รองลงมา และแบบยาเม็ดจะมีฤทธิ์อ่อนที่สุด
•ฟ้าทะลายโจรเป็นสมุนไพรที่เหมาะส้าหรับใช้รักษา "หวัดร้อน" (อาการเหงื่อออก กระหายน้้า เจ็บ ท้องผูก ปัสสาวะสีเข้ม) แต่ฟ้าทะลายโจรจะไม่เหมาะกับการน้ามาใช้รักษาผู้ที่มีอาการ "หวัดเย็น" (ไม่มีเหงื่อ ปัสสาวะบ่อย รู้สึกหนาวสะท้านบ่อย อุ้งมืออุ้งเท้าเย็น) เพราะอาจจะเกิดอาการก้าเริบขึ้นได้ เช่น มีอาการหนาวสั่น คลื่นไส้ เป็นต้น
•ข้อควรระวังในการใช้ ผู้ที่มีความดันโลหิตต่้าไม่ควรใช้ฟ้าทะลายโจร เพราะฟ้าทะลายโจรมีสรรพคุณในการลดความดันโลหิตอยู่แล้ว ซึ่งถ้าหากใช้ฟ้าทะลายโจรอาจจะท้าให้เกิดอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ หรือมีอาการมึนงง วิธีการแก้ก็คือให้หยุดใช้ทันที หลังจากนั้น 3-4 ชั่วโมงอาการก็จะดีขึ้นเอง เพราะตัวยาสามารถถูกขับออกไปได้และไม่ตกค้างในร่างกาย
ชื่อทางการค้า
ยาเม็ดฟ้าทะลายโจร, ยาแคปซูลฟ้าทะลายโจร
ครีมไพจีซาล
-
กลไกการออกฤทธิ์
ไพลมีสารส้าคัญคือ (E)-1-(3,4-dimethoxyphenyl) butadiene (DMPBD) และ (E)-4-(3',4'-dimethoxyphenyl)but-3-en-2-ol (compound D) สามารถออกฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยยับยั้งการท้างานของ เอนไซม์ cyclooxygenase (COX )และ lipoxygenase (LOX) สารกลุ่ม phenylbutenoids ที่ออกฤทธิ์จ้าเพาะต่อ COX-2 นอกจากนี้ยังพบสารกลุ่ม curcuminoids (เช่น cassumunins, cassumunarins และ curcumin) ที่สามารถออก ฤทธิ์เป็น anti-oxidant ได้ดี
-
-
-
-
-
-
มะขามแขก
-
กลไกการออกฤทธิ์
สารส้าคัญที่ออกฤทธิ์คือ Sennoside A และ B ซึ่งเป็น Anthraquinone กระตุ้นการบีบตัวของล้าไส้ใหญ่ ท้าให้เกิดการขับถ่าย และกระตุ้นการหลั่งของน้้า เพื่อให้ร่างกายขับของเสียออกมา
-
ขนาดและวิธีใช้
•ผู้ใหญ่และเด็กอายุมากกว่า 12 ปี ให้รับประทานยาครั้งละ 2-4 เม็ด (15-30 มิลลิกรัม) วันละครั้งก่อนนอน (ควรเริ่มรับประทานยาครั้งละ 2 เม็ดก่อน หากอาการท้องผูกยังไม่ดีขึ้นให้เพิ่มเป็นครั้งละ 4 เม็ด วันละครั้งก่อนนอน)
-
-
•ใช้ใบและฝักของมะขามแขกตากแห้งประมาณ 1-2 ก้ามือ (3-10 กรัม) หรือใช้ฝัก 4-5 ฝัก น้ามาต้มกับน้้าดื่ม หรือใช้วิธีบดเป็นผงชงกับน้้าดื่มเพื่อเป็นยาระบาย
-
ข้อควรระวัง
-
-
•ไม่ควรใช้ยานี้ต่อเนื่องกันเกิน 2 สัปดาห์ เพราะจะท้าให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียน้้า และเกลือแร่มากเกินไป โดยเฉพาะโพแทสเซียม และการใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะท้าให้ล้าไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย
-
-
-
คำแนะนำ
1.โดยทั่วไปจะให้รับประทานวันละ 1 ครั้ง ในช่วงเย็นหรือก่อนนอน (ให้รับประทานยาพร้อมกับดื่มน้้าตาม 1 แก้ว) เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ระบายในตอนเช้า
2.ควรรับประทานยาเมื่อมีอาการท้องผูกแบบเฉียบพลันเท่านั้น และควรรับประทานยาในช่วงเวลาสั้น ๆ คือ ไม่เกิน 7 วัน
-
-
-
-
ยาอมมะแว้ง
-
กลไกการออกฤทธิ์
ยาอมมะแว้งประกอบด้วย มะแว้งต้นและมะแว้งเครือ มีสารส้าคัญ คือ อัลคาลอยด์ชนิดโซลาโซดีน (Solasodine) และ โซลานีน (Solanine) ซึ่งเป็นสารที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท และ ระบบการหายใจ จึงช่วยบรรเทาอาการไอได้ นอกจากนี้ ในผล มะแว้งต้น และ มะแว้งเครือยังมีสารลิกนิน (Lignin) และ ซาโปนิน (Saponin) ซึ่งท้าหน้าที่เหมือนยาปฏิชีวนะ ช่วยระงับการอักเสบ และ ละลายเสมหะได้ดี
-
ขนาดและวิธีใช้
-
2.ชนิดเม็ดและชนิดลูกกลอน
-
เด็ก อายุ 6-12 ปี รับประทานครั้งละ 200-400 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการ ละลายน้้ามะนาวแทรกเกลือรับประทาน หรือใช้อม
-
คำแนะนำ
- ไม่ควรรับประทานติดต่อกันเกิน 15 วัน แต่การใช้ยาติดต่อกันเกินสองสัปดาห์อาจส่งผลให้ตับท้างานหนัก และเมื่อทานยาไปแล้วสองสัปดาห์แต่อาการไม่ดีขึ้นก็ควรที่จะไปพบแพทย์เพื่อสังเกตอาการต่อไปหรือเพื่อปรับเปลี่ยนยาหรือรูปแบบการรักษา
- ไม่แนะน้าให้รับประทานในเด็กอายุต่้ากว่า 6 ขวบ