Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด, นายมูฮำหมัด…
บทที่11
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก
Trauma
ปัจจัยด้านมารดา
แผลเก่าจากการตัดฝีเย็บ หรือการติดเชื้อของช่องทางคลอด
ปัจจัยด้านทารก
ทารกตัวโต ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ หรือมีส่วนนำผิดปกติ
Tissue
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
ความผิดปกติของรก หรือการฝังตัวของรก
Tone
การตกเลือดก่อนคลอด
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
การคลอดที่ไม่ปกติ
การได้รับยา
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีระหว่างการคลอด
การตั้งครรภ์และการคลอดบุตรมากกว่า 5 คน
กล้ามเนื้มดลูกขยายมากเกินไป
การอักเสบติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
Thrombin
การแข็งตัวของเลือดในผู้ที่มีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด เมื่อคลอดบุตร ทำให้มีเลือดออกมากกว่าปกติและไม่หยุดง่าย
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง
สาเหตุ
การติดเชื้อในโพรงมดลูก
เลือดออกจากแผลในช่องทางคลอด
หมดลูกเข้าอู่ช้า
ครรภ์ไข่ปลาอุก เนื้องอกของตัวมดลูก
เศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้าง
อาการและอาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
อาการปวดท้องน้อย
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ผลกระทบของการตกเลือดหลังคลอด
ทำให้ปริมาณเลือดในร่างกายลดลงเกิดภาวะ hypovolemia มีผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงไตลดลงถ้าขาดเลือดไปเลี้ยงไตเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดภาวะไตล้มเหลวได้
การพยาบาลมารดาที่มีการตกเลือดหลังคลอด
ระยะคลอด
ทำคลอดในระยะที่ 2 และ 3 ของการคลอดอย่างถูกต้อง
หลังรกคลอดควรตรวจรกให้ครบถ้วน
ควรงดน้ำและอาหารทางปาก
คลึงมดลูกหลังรกคลอด
เตรียมความพร้อมในรายที่มีปัจจัยเสี่ยง
ตรวจช่องทางคลอด
หลีกเลี่ยงหรือหาวิธีช่วยลดการเกิดปัจจัยเสี่ยง
ระยะหลังคลอด
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างโดยกระตุ้นให้ขับถ่ายปัสสาวะ
แนะนำมารดาหลังคลอดให้ตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูก
ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอดควรดูแลอย่างใกล้ชิด
ควรประเมินบริเวณช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บ
ระยะตั้งครรภ์
แก้ไขปัญหาความเข้มข้นของเลือด
ค้นหาปัจจัยเสี่ยงและความตระหนัก
การติดเชื้อหลังคลอด
สาเหตุ
การท าคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการหรือการคลอดยาก
เทคนิคการท าคลอดไม่ถูกต้อง
การเจ็บครรภ์และการคลอดยาวนาน
การล้วงรถหรือมีการตรวจโพรงมดลูกหลังคลอด
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
การมีเศษรกค้างในโพรงมดลูก
ภาวะทุพโภชนาการ
การดูแลแผลฝีเย็บที่ไม่ถูกต้อง
การแพร่เชื้อ
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
การแพร่กระจายไปตามระบบน้ำเหลือง
Pelvic cellulitis
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงลอย ปวดท้องน้อย อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ กดเจ็บบริเวณมดลูกอาจคล าได้ก้อน
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ถ้าเป็นก้อนฝีหนองต้องระบาย
Petronitis
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ในรายที่เป็นรุนแรงอาจต้องได้รับการผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องรุนแรง ท้องโป่งตึง กดเจ็บ มี rebound tenderness ลำไส้ไม่ทำงาน มีไข้สูง ชีพจรเร็ว กระสับกระส่าย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
การแพร่กระจายไปตามหลอดเลือดดำ
อาการและอาการแสดง
พบว่ามีขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม ถ้าบวมน้อยขาจะเป็นสีน้ำตาล ถ้าบวมมากจะเป็นสีขาว
การรักษา
ให้ heparin และควรให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
การติดเชื้อเฉพาะที่
การติดเชื้อแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด ช่องคลอดและปากมดลูก
การรักษา
เปิดแผลให้หนองระบาย ให้ hot sitz baths และอบแผล จะช่วยบรรเทาอาการปวดใน
ระยะเฉียบพลันของการติดเชื้อ ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและยาระงับปวดตามแผนการรักษา
อาการและอาการแสดง
มักมีปัสสาวะลำบากร่วมด้วย ถ้าระบายหนองได้ดีจะไม่มีอาการรุนแรง มีไข้ต่ำกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
การติดเชื้อของเยื่อบุมดลูกหรือการติดเชื้อของมดลูก
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงแบบฟันเลื่อยระหว่าง 38.5 - 40 องศาเซลเซียส ชีพจรเร็ว สัมพันธ์กับอุณหภูมิ ปวดท้องน้อยบริเวณมดลูกน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น แอมพิซิลลิน
การอักเสบติดเชื้อของเต้านม
เต้านมอักเสบ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อที่พบบ่อย
ให้ยาแก้ปวด เช่น paracetamol, NSAIDs
เพาะเชื้อน้ำนมข้างที่มีการอักเสบก่อนเริ่มรักษา
ให้นมบุตรได้ตามปกติ
เต้านมเป็นฝี
การรักษา
คล้ายกับการรักษาเต้านมอักเสบร่วมกับการเจาะระบายหนอง
การอักเสบติดเชื้อของเต้านม
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ส่วนใหญ่มักเกิดจากเชื้อ staphylococcus aureus ซึ่งพบบริเวณผิวหนัง เชื้อจะผ่านเข้าไปทางหัวนมที่แตกหรือแยกหรือเข้าทางบาดแผลของเต้านม มักเกิดในมารดาหลังคลอดที่ให้นมบุตร
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีการอักเสบติดเชื้อที่เต้านม
ดูดนมให้ปากทารกอยู่บนลานนม
เปลี่ยนท่าในการให้นมบ่อยๆ
สวมเสื้อพยุงเต้านมให้พอดี
ถ้ามีอาการคัดตึงเต้านม ให้บีบน้ านมออก
ทำความสะอาดเต้านมและหัวนม
ถ้ามีหัวนมแตกต้องรีบรักษา
ล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสเต้านม
มดลูกเข้าอู่ช้า
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ น้ำคาวปลาเป็นสีแดง มีกลิ่นเหม็นอุณหภูมิร่างกายสูงและอาจ ทำให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดในระยะหลังได้
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีมดลูกเข้าอู่ช้า
ส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมมารดา
หลังทำคลอดรกตรวจให้แน่ใจว่ารถคลอดครบ
สาเหตุ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การไม่ให้ทารกดูดนมมารดา
ปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ
การติดเชื้อของมดลูกหรือเยื่อบุมดลูกอักเสบ
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
ก้อนเลือดคั่ง
สาเหตุ
เย็บซ่อมแซมบริเวณที่มีการฉีกขาดหรือที่ตัดฝีเย็บไม่ดี เช่น การเย็บที่ไม่ลึกถึงก้นแผล
คลึงมดลูกรุนแรง ทำให้เลือดคั่งใต้เยื่อบุช่องท้อง
บาดเจ็บจากการคลอดอาจเกิดได้ทั้งในรายที่คลอดปกติหรือคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเลือดคั่งชัดเจน ก้อนเลือดมีลักษณะสีแดงออกม่วงคล้ำ มารดาจะบอกว่ารู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอดหรือบริเวณแผลฝีเย็บมาก
การรักษา
รักษาตามอาการ และใช้น้ำแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
หลอดเลือดดำอักเสบ
อาการและอาการแสดง
จะมีอาการปวดน่องเล็กน้อย บวม แดง ร้อน หลอดเลือดดำแข็ง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการอักเสบของหลอดเลือดดำ
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดลุกจากเตียงโดยเร็ว
กรณีที่มีหลอดเลือดดำขอด
รองผ้าบนขาหยั่งเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหนักกดลงบนน่อง
แนะนำมารดาหลังคลอดให้หลีกเลี่ยงการนั่งนานๆ
การพยาบาลเมื่อเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลประคับประคองตามอาการ
ประคบด้วยความร้อน
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับอาการที่เป็น
ให้นอนพักยกขาข้างที่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำสูงขึ้น
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
Postpartum Depression and psychosis
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ความรู้สึกสูญเสีย มีอารมณ์เศร้ารุนแรง อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ต้องการพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น มีความวิตกกังวลอย่างรุนแรง
สาเหตุ
ความตึงเครียดทางจิตใจ
ความตึงเครียดทางสังคม
ความตึงเครียดทางร่างกาย
การบำบัดรักษา
จิตบำบัด
การบำบัดด้วยยา
โรคจิตหลังคลอด
อาการแสดงของโรคจิตหลังคลอด
อาการนำ
มักเริ่มเป็นระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอด 1) นอนไม่หลับ ฝันร้าย 2) บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง 3) ภาวะการรู้ตัวอาจเลือนราง 4) การเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการของโรคจิต
คือ โรคไบโพล่าหรือโรคอารมณ์แปรปรวน 2 แบบ ซึ่งจะมีทั้งอาการซึมเศร้า และอาการ mania
สาเหตุ
มารดามีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนแล้ว
ขาดการช่วยเหลือสนับสนุนจากสามีและครอบครัว
มีประวัติเป็นโรคไบโพล่า
ประวัติของบุคคลในครอบครัวหรือญาติใกล้ชิดป่วยด้วยโรคไบโพล่า
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
การบำบัดรักษา
ความจำเป็นต้องรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาลและงดเลี้ยงบุตรหรือเลี้ยงโดยมีคนดูแลใกล้ชิดในช่วงเวลาสั้นๆ
การรักษาจะเน้นในการใช้ยา
ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants)
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug)
นายมูฮำหมัด ละแลแม 604N46135