Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มดลูกแตก (uterine rupture), ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, นางสาวเกตน์นิภา…
มดลูกแตก (uterine rupture)
ความหมาย
การฉีกขาด ทะลุ หรือมีรอยปริของมดลูกขณะ
ตั้งครรภ์ ขณะรอคลอด หรือขณะคลอด
หลังจากที่ทารกในครรภ์โตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์ที่รุนแรง
เป็นสาเหตุการตายของมารดา และทารก
พบอุบัติการณ์การเกิดภาวะมดลูกแตก ร้อยละ 0.05-1 ของการคลอดทั้งหมด
สาเหตุ
ความผิดปกติของมดลูกก่อนการตั้งครรภ์
เคยผ่าตัดที่ตัวมดลูก
เคยผ่าตัดทางหน้าท้อง แบบ classical C/S
มีภาวะมดลูกแตกและได้รับการเย็บซ่อมแซม/เคยผ่าตัดเย็บซ่อมแซมมดลูก
เคยผ่าตัดเนื้องอกมดลูก
มีการเจริญพัฒนาผิดปกติของมดลูก
การบาดเจ็บ/ความผิดปกติของมดลูกในการตั้งครรภ์
ก่อนคลอด
มดลูกมีการหดรัดตัวแรงตลอดเวลา
ได้รับยากระตุ้นเร่งคลอด oxytocin, cytotec
ฉีดสารละลายเข้มข้นสูงเข้าโพรงมดลูกด้วย น้ำเกลือ 20% hypotonic solution
มดลูกได้รับการบาดเจ็บจาการกระแทก
การหมุนท่าทารกจากภายนอก
มดลูกมีการยืดขยายมาก
ครรภ์แฝด แฝดน้ำ
ขณะคลอด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายใน
การช่วยคลอดด้วยคีมแบบยาก
การทำคลอดท่าก้น
ทารกมีความผิดปกติทำให้มดลูกส่วนล่างมีการยืดขยาย
ดันยอดมดลูกขณะคลอด
ล้วงรกแบบติดแน่น
ปัจจัยอื่น
รกฝังติดลึกในชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
ชนิดของมดลูกแตก
มดลูกแตกแบบสมบูรณ์
ผนังมดลูกแตกทั้ง 3 ชั้น เกิดการติดต่อ
ระหว่างโพรงมดลูกดับช่องท้อง
บางส่วนของทารกหลุดเข้าช่องท้อง
มดลูกแตกแบบไม่สมบูรณ์
มดลูกแตกแต่ไม่ทะลุถึงช่องท้อง
ทารกยังอยู่ในโพรงมดลูก
ไม่มีอาการ/อาการแสดง อาจคลำได้ก้อนเลือดคั่งหยุ่นๆ 2 ข้างของมดลูก
จะพบได้เมื่อผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
แตกที่ส่วนบนของมดลูก
แตกตามขวาง
แตกที่ส่วนล่างของมดลูก
แตกตามยาว
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงเตือนว่ามดลูกใกล้จะแตก
มดลูกหดรัดตัวรุนแรงหรือแข็งตลอดเวลา มีอาการเจ็บครรภ์มาก
มดลูกหดรัดตัวไม่สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของการคลอด
ตรวจพบหน้าท้องแบ่งเป็น 2 ลอนสูงเกือบถึงระดับสะดือ (bandl’s ring)
ปวดท้องรุนแรง อาจมี N/V กระสับกระส่าย กระวนกระวาย
FHR ไม่สม่ำเสมอ
กดเจ็บบริเวณหน้าท้อง
PV ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
อาจคลำ พบ round ligament แข็งและเจ็บมาก
อาการและอาการแสดงว่ามดลูกแตกแล้ว
อาการเจ็บครรภ์หายทันที
ท้องโป่งตึง ปวดท้องอย่างรุนแรง
มดลูกคลายตัว
ผู้คลอดบอกรู้สึกมีอะไรแตก
เจ็บบริเวณหน้าอก ไหปลาร้า
เลือดในช่องท้องเบียดดันกระบังลม
คลำตัวทารกได้ชัดเจน
ตรวจภายในพบส่วนนำลอยสูงขึ้น หรือคลำส่วนนำไม่ได้
บางรายพบเลือดออกทางช่องคลอดมากผิดปกติ
FHR ผิดปกติ อาจเร็ว/ช้า/หายไป
มดลูกแตกบางส่วน
เลือดจะออกช้า
ซีด ตัวเย็น เหงื่อออก ชีพจรเบาเร็ว BP ต่ำ ช็อก
เกิดช้ากว่าแบบแตกแบบสมบูรณ์
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
การผ่าตัดมดลูกในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์
อุบัติเหตุระหว่างการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดงมดลูกแตก
ตรวจร่างกาย
มีอาการเจ็บท้อง กดเจ็บเมื่อปล่อย
ท้องโป่ง อืดตึง
คลำตัวทารกได้ชัดเจน FHR เปลี่ยน
PV ส่วนนๆลอยขึ้น
ผู้คลอดมีอาการของภาวะช็อก
ตรวจ Lab
Hb, Hct ต่ำ
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ช็อกจากการเสียเลือด
Peritonitis
ด้านจิตใจ
เสียชีวิต
ทารก
ทารกขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ได้รับบาดเจ็บจากการช่วยคลอดอย่างเร่งด่วน
เสียชีวิต
การรักษา
มีอาการแสดงมดลูกใกล้แตก
set C/S Emergency
มดลูกแตกแล้ว
แก้ไขภาวะช็อก เตรียมเลือด ให้ออกซิเจน
ถ้ามดลูกแตกไม่รุนแรง
เย็บซ่อมมดลูก
ให้ยาปฏิชีวนะ
การพยาบาล
ป้องกันการเกิดภาวะมดลูกแตก
สตรที่เคยผ่าตัดคลอดทางทารกหน้าท้อง
แนะนำให้คุมกำเนิดและเว้นระยะการมีบุตรอย่างน้อย 2 ปี
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
เลือกสถานที่คลอดในโรงพยาบาลที่สามารถผ่าตัดฉุกเฉินได้
รายที่ผ่าตัดเป็นแบบ classical ควรหลีกเลี่ยงการทำ VBAC
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยงต่อ
การเกิดภาวะมดลูกแตกในผู้คลอด
ถ้าพบปัจจัยเสี่ยงในระยะคลอด
ดูแลอย่างใกล้ชิด + รายงานแพทย์
พิจารณาผ่าตัดคลอด
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนบริเวณมดลูก หรือระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ
ระยะคลอด
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
เมื่อพบว่าการคลอดไม่ก้าวหน้าจาก CPD >>> รายงานแพทย์ >>> พิจารณาผ่าตัดคลอด
ผู้คลอดที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก และ FHS อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก
NPO ดูแลให้ IV fluid ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับเลือดทดแทนและออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมิน V/S ทุก 5-10 นาที
ประเมินอาการแสดงของการตกเลือดและอาการแสดงของภาวะช็อก
ประเมิน uterine contraction และ FHS อย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการผ่าตัดคลอด + เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพของทั้งผู้คลอด และทารก + รายงานกุมารแพทย์
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อภายในช่องท้องตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด เช่นเดียวกับมารดาหลังคลอดปกติ
ปลอบโยน ให้กำลังใจผู้คลอดและครอบครัวและเปิดโอกาสให้พูดแสดงความรู้สึกหรือซักถาม ในกรณีที่สูญเสียบุตร
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะมดลูกแตก เนื่องจากเคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ทารกมีโอกาสเกิดอันตรายจากการขาดออกซิเจน เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก เนื่องจากเสียเลือดมากจากมดลูกแตก
ผู้คลอดและครอบครัวมีความกลัวและวิตกกังวล เนื่องจากได้รับการผ่าตัดมดลูก
มารดาหลังคลอดไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดแผลผ่าตัดมดลูก
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
นางสาวเกตน์นิภา เกทะโล
รหัส 603901003 เลขที่ 2
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3