Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๓ หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ, จัดทำโดย - Coggle Diagram
บทที่ ๓ หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
การบริหารงานบุคคล(Personnel Management)
เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งกำลังคนที่
เหมาะสมที่สุดกับงาน และใช้ทรัพยากรกำลังคนนั้นให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
วัตถุประสงค์ของการบริหารงานบุคคล
๓. เพื่อรักษาไว้ (maintenance)ซึ่งบุคคลให้ทำงานกับองค์การนานๆ
๔. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี (relationships)ของบุคคลกลุ่มต่างๆขององค์การ
๒. เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization)ของบุคคลอย่างเต็มกำลังในการทำงาน
๕. เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง(development)
๑. เพื่อสรรหาและเลือกสรร (recruitment and selection)ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีเข้ามาทำงาน
หลักการบริหารงานบุคคล
๑. ระบบคุณธรรม (Merit System) เป็นระบบที่นิยม และช่วยให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงาน ระบบคุณธรรมใช้หลักเกณฑ์ในการบริหารงานบุคคล ๔ ประการ
หลักความสามารถ (Competency)
หลักความมั่นคง (Security of tenure)
หลักความเสมอภาค (equality of opportunity)
หลักการเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality)
๒. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นระบบการบริหารงานบุคคลที่ตรงข้าม
กับระบบคุณธรรม ส่วนใหญ่จะยึดถือหลักพวกพ้อง เครือญาติ หรือมีผู้อุปการะ
กระบวนการบริหารงานบุคคล
๒. การพัฒนาบุคลากร
๑. ระบบอุปถัมภ์ Patronage system เป็นระบบที่อาศัยความสนิทสนมคุ้นเคยอาจจะเป็นเครือ
๒. ระบบคุณธรรม Merit systemยึดหลัก ๔ ประการ ได้แก่
๑. หลักเสมอภาค
๒. หลักความสามารถ
๓. หลักความมั่นคง
๔. หลักความเป็นกลางทางการเมือง
๓. การบำรุงรักษาบุคลากร
๒. การฝึกอบรมทางด้านเทคนิค (Technical Skill)
๓. การฝึกอบรมทางด้านมนุษยสัมพันธ์(Human Skill)
๑. การฝึกอบรมทางด้านความรู้ (Knowledge Skill)
๔. การฝึกอบรมทางด้านความคิด (Conceptual Skill)
๑. การสรรหาและการคัดเลือก
๑) กำหนดนโยบายการสรรหา (Recruiting Policies)
๒) กำหนดแหล่งสรรหาบุคลากร (Source of recruitment)
๔. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน
๑. กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
๒. กำหนดแบบและลักษณะของงานที่จะประเมิน เขียนแบบประเมินและแบบบันทึก
๓. กำหนดผู้ประเมินและการอบรมผู้ทำการประเมิน เพื่อทำความเข้าใจให้ตรงกัน
๔. กำหนดวิธีการการประเมินผลงาน เช่นประเมินพฤติกรรม ประเมินตามมาตรฐานของหน่วยงาน
การบริหารพัสดุ
-พัสดุหมายความว่าวัสดุครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
-วัสดุหมายถึงสิ่งของที่มีลักษณะไม่คงทนถาวรใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไปหรือสลายตัวไปในระยะสั้น
-ครุภัณฑ์หมายถึงสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรมีอายุการใช้งานยาวนานไม่เป็นของใช้สิ้นเปลือง
วัตถุประสงค์การบริหารพัสดุ
เพื่อควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
เพื่อจัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้อยู่ตลอดเวลา
เพื่อประหยัดงบประมาณหรือเงินบ ารุงในการจัดซื้อพัสดุ
ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกันทุจริต
ประเภทของพัสดุ
๒. พัสดุทางการแพทย์
๓. พัสดุวิทยาศาสตร์
๑. พัสดุประเภทสำนักงาน
๔. พัสดุยานพาหนะ
๕. พัสดุงานบ้าน
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
๑. วางแผน / กำหนดโครงการ
๒. กำหนดความต้องการ
๓. จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง
๔. การแจกจ่าย
๕. การบำรุงรักษา (๑) แบบป้องกัน (๒) แบบแก้ไข
๖. การจำหน่าย
หลักการบำรุงรักษาพัสดุ
การควบคุมดูแล การเบิกจ่าย
จัดทำคู่มือบำรุงรักษา
จัดทำสมุดทะเบียน
รายงานการส่งซ่อมอุปกรณ์
การบริหารงบประมาณ (Budget)
ความสำคัญและประโยชน์ของงบประมาณ
๒) ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน่วยงาน
๓) เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้มีประสิทธิภาพ
๑) ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน
๔) เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม
๕) เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน
บทบาทของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ
๒) ต้องจัดองค์กรและวางแผนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับงบประมาณที่เป็นอยู่
๓) ต้องจัดบุคลากร ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานงบประมาณ ที่ต่อเนื่องและมีข้อมูลในด้านต่างๆไว้พร้อม
๑)ตระหนัก และเห็นความสำคัญของงบประมาณว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ
๔) ต้องจัดเครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็นในการบริหารงานงบประมาณไว้ครบถ้วน เพื่อความรวดเร็ว
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ
๑) ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณต้องรู้จักเข้าใจบทบาทและอำนาจ
หน้าที่ของตนเองเป็นอย่างดีและมีเหตุผล
๒) ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ ต้องจัดระบบบริหารงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
บทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ
๓) จัดให้มีองค์กรกลางเป็นศูนย์รวมข้อมูลงบประมาณขององค์กร
๒) จัดให้มีการประสานงานกับในหน่วยงานขององค์กร
๑) จัดระบบงานและองค์กรให้มีสายการบังคับบัญชาในองค์กรที่แน่นอน
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงในองค์การ
ระเบียบสังคม (Social Order) ซึ่งหมายถึงการจัดระเบียบ โครงสร้างของกลุ่ม สถาบัน บรรทัด
ฐาน ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ในองค์การทั้งที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ และที่ไม่เป็นทางการ
อุดมการณ์ (Ideology) ซึ่งหมายถึงความเชื่อที่เป็นตัวกำกับทิศทางแบบแผนของพฤติกรรมในองค์การ ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า “จิตสำนึก”
เทคโนโลยี (Technology) ซึ่งหมายถึงอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ รวมถึงระเบียบกรรมวิธีปฏิบัติงานกับเครื่องจักร เครื่องมือเหล่านั้น มักจะต้องปรับเปลี่ยนให้ทันสมัย เพื่อให้มีผลิตภาพในระดับที่จะแข่งขัน และอยู่รอดได้
การขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
๒. การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
๓. การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
๑. การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
๑. การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive) เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงจากผู้อื่นซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อเตรียมการรองรับการการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
๒. การเปลี่ยน แปลงเชิงรับ (Reactive) เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเอง
ไม่ยอมที่จะเปลี่ยนแปลง หรือมีความคิดติดยึดในแนวทางเดิมๆมานาน
จัดทำโดย
นางสาวนฤมล ดีสมจิตร ชั้นปีที่3 เลขที่43 (603101043)