Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลังงานจากสารอาหารความต้องการพลังงานของร่างกาย - Coggle Diagram
พลังงานจากสารอาหารความต้องการพลังงานของร่างกาย
ความต้องการใน 1 วัน
วัยผู้ใหญ่เพศหญิง
กิจกรรมปกติ ประมาณ 1,400 กิโลแคลอรี่
กิจกรรมเคลื่อนไหวมากหรือใช้แรงงาน
ประมาณ 1,700 กิโลแคลอรี่
วัยผู้ใหญ่เพศชาย
กิจกรรมปกติ ประมาณ 1,800 กิโลแคลอรี่
กิจกรรมเคลื่อนไหวมากหรือใช้แรงงาน
ประมาณ 2,100 กิโลแคลอรี่
การคำนวณปริมาณและพลังงานจากสารอาหาร
วิธีการคำนวณพลังงาน
ผู้ชาย : BEE = 66.5 + (13.8W) + (5.0H) – (6.8A)
ผู้หญิง : BEE = 665.1 + (9.6W) + (1.8H) – (4.7A)
TEE = BEE × Activity factor × Injury factor
ปริมาณอาหารที่ควรได้รับ
เด็ก6-13ปี หญิงวัยทำงาน25-60ปี ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไป
1,600กิโลแคลอรี่
ผู้ป่วยBMI<18.5
1,800 กิโลแคลอรี่
ผู้ป่วยDM ,HIที่มี BMIมากกว่าหรือเท่ากับ25
1,200-1,600 กิโลแคลอรี่
ขั้นตอนการคำนวณอาหารแลกเปลี่ยน
กระจายสัดส่วนของพลังงานที่ได้รับ
คำนวณปริมาณสารอาหารที่ร่างกายต้องการต่อวัน
การกำหนดปริมาณอาหาร
การแบ่งส่วนอาหารที่คำนวณไว้ทั้งวันเป็นมื้อ
กำหนดรายการอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเผาผลาญอาหาร
อายุ
อายุที่มากขึ้นมีผลทําให้อัตราการเผาผลาญลดลง
เพศ
เพศชายมีอัตราการเผาผลาญมากกว่าเพศหญิงเนื่องจากกล้ามเนื้อมากกว่าผู้หญิง
องค์ประกอบมวลกาย
คนที่อ้วนมีอัตราการเผาผลาญน้อยกว่าคนผอม
ฮอร์โมน
คนที่มีภาวะขาดฮอร์โมนบางตัวจะทำให้มีอัตราการเผาผลาญตํ่า
ภาวะการอดอาหาร
ทําให้มีอัตราการเผาผลาญตํ่าแล้วก็เพิ่มมวลกล้ามเนื้อโดยการออกกำลังกาย
อาหาร
อาหารประเภทโปรตีนทำให้มีการเผาผลาญมากกว่าการบริโภคไขมันและคาร์โบไฮเดรต
แอลกอฮอล์,กาแฟ
ช่วยเพิ่มอัตราการเผาผลาญได้แต่แค่2-3 ชม.เท่านั้น
การประเมินภาวะโภชนาการ
ประเภทการประเมิน
ทางตรง
ทางอ้อม
ประเภทโภชนาการ
ภาวะโภชนาการดี
ภาวะโภชนาการไม่ดี
การขาด
บริโภคอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
การเกิน
บริโภคเกินความต้องการของร่างกาย
แบ่งย่อย
การประเมินโดยใช้วิธีการวัดสัดส่วนของร่างกาย
การประเมินโดยใช้การวิเคราะห์สารชีวเคมีในร่างกาย
การประเมินโดยใช้การตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่ปรากฏให้เห็น
การประเมินโดยใช้การประเมินอาหารที่บริโภค
การเขียน SOAP NOTE
S=Subjective
ข้อมูลที่ได้จาก Chart หรือเวชระเบียนผู้ป่วย
CC (Chief complaint) คือ อาการหรือปัญหาที่ทําให้ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์
ข้อมูลที่ได้จากการพูดคุย ซักถามจากผู้ป่วย หรือญาติ
ประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆ,ประวัติครอบครัว
A=Assessment
ประเมินผู้ป่วยโดยการนําข้อมูลจาก S และ O มาพิจารณา
ประเมินสภาวะโภชนาการ พลังงานและสารอาหารที่ได้รับ
O=Objective
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการ
P=Plan
วางแผนให้โภชนบําบัดที่เหมาะสม
คำแนะนำในการเลือก ปรับเปลี่ยนการทานอาหาร
พลังงานที่ควรได้รับ
2,000 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
คาร์โบไฮเดรต
55-65%
1,100-1,300 กิโลแคลอรี่
โปรตีน
15%
300 กิโลแคลอรี่
ไขมัน
20-30%
400-600 กิโลแคลอรี่