Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ, นางสาวนภสร สุตัน เลขที่ 40…
บทที่ 3 หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
จัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก
อาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคต
เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
เริ่มจากการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อน
การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ
ถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่่นตัวเองไม่ยอมที่จะเปลี่ยนแปลง
ความคิดยึดติดในแนวทางเดิมมานาน
ความสำคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ปรับตัวได้ทันกับปัญหา การเปลี่ยนแปลง
การดำเนินงานราบรื่น ต่อเนื่อง
ปรับการดำเนินงานเพื่อคว้าโอกาสหรือจัดการภัยคุกคาม
ช่วยให้องค์การไม่สับสน วุ่นวาย
ช่วยให้องค์การได้ปรับปรุงตัวเองอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของการบริหารการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
ระเบียบสังคม
อุดมการณ์
เทคโนโลยี
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงต่อต้าน
กลัวการสูญเสียประโยชน์, รู้สึกโดดเดี่ยว, ขาดความรู้ ความเข้าใจที่ดี, ไม่เชื่อใจกัน, ข้อจำกัดด้านทรัพยากร
แรงเสริม
ความไม่พอใจสภาพปัจจุบัน, ภาพลักษณ์และภาวะผู้นำที่มีความมุ่งมั่นต่อการเปลี่ยนแปลง, การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งผู้บริหาร, การใช้เทคโนโลยีในการดำเนินการในองค์กร, สัมพันธภาพที่ดี ความไว้วางใจ สื่อสารกันทั่วถึง, ระบบการติดตามประเมินผล
ขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง> การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ> การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง
การบริหารพัสดุ
วัตถุประสงค์
ควบคุมการใช้ให้เกิดประโยชน์
จัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้
ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกันทุจริต
ประหยัดงบประมาน/เงินบำรุงในการจัดซื้อพัสดุ
ประเภทของพัสดุ
พัสดุทางการแพทย์
พัสดุวิทยาศาสตร์
พัสดุประเภทสำนักงาน
พัสดุยานพาหนะ
พัสดุงานบ้าน
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
วางแผน/กำหนดโครงการ>กำหนดความต้องการ>จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง>แจกจ่าย>บำรุงรักษา>การจำหน่าย
หลักการบำรุงรักษาพัสดุ
จัดทำคู่มือบำรุงรักษา
รายงานการส่งซ่อมอุปกรณ์
ควบคุมดูแล การเบิกจ่าย
ทำสมุดทะเบียน
การบริหารงบประมาณ
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน
การบริหารสินทรัพย์
การตรวจสอบภายใน
การกำหนดผลผลิตและการคำนวณต้นทุน: ระบุกิจกรรมและผลผลิตที่ได้จากกิจกรรม
การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
การวางแผนงบประมาณ: ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง 3 ปี คาดคะเนวงเงินที่จะใช้เป็นรายปี
การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ
การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน
การบริหารงานบุคคล
เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้บุคลากรที่เหมาะสมกับงานและทำงานมีประสิทธิภาพ รวมถึงรักษาบุคลากรเหล่านั้นไว้
วัตถุประสงค์
เพื่อรักษาไว้ซึ่งบุคคล
เพื่อสร้างสัมพันธภาพอันดีของบุคคล
เพื่อให้ประโยชน์ของบุคคล
เพื่อพัฒนาทักษะและสร้างเสริมความสามารถของบุคคล
เพื่อสรรหาและเลือกสรรบุคคล
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
การพัฒนาบุคลากร
ให้พนักงานมีความรู้ ความสามารถ
ฝึกอบรมด้านความรู้, ด้านเทคนิค, ด้านมนุษยสัมพันธ์, ด้านความคิด
ประเภทของการฝึกอบรม
อบรมปฐมนิเทศเพื่อต้อนรับ/แนะนำพนักงานใหม่
อบรมเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน
ฝึกอบรมก่อนเข้าทำงาน
พัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ
การบำรุงรักษาบุคลากร
ใช้การเสริมแรงจูงใจภายในการทำงาน
แรงจูงใจภายใน
เกิดจากความต้องการก้าวหน้าในอาชีพ
ต้องการให้งานสำเร็จภายในเวลา
มีความคาดหวัง คำชมเชย รางวัล
แรงจูงใจภายนอก
สถานที่ทำงานมีสิ่งอำนวยความสะดวก มั่นคง ปลอดภัย
มีอิสระในการทำงาน
ความมั่นคงต่อการทำงาน ความก้าวหน้า
คำติชม รางวัล การทำโทษ
เงินเดือน
การสรรหาและการคัดเลือก
ขั้นตอนการสรรหา
กำหนดนโยบายการสรรหา
กำหนดแหล่งสรรหาบุคลากร
ภายในหน่วยงาน
ข้อจำกัด: จำกัดโอกาสของบุคคลภายนอก,พนักงานที่สมัครเลื่อนตำแหน่งอาจไม่พอใจหากไม่ได้รับคัดเลือก, เสียเวลาในการสัมภาษณ์, สืบทอดความคิด กระทำแบบเดิมๆ
ข้อดี: ประหยัดค่าใช้จ่าย, สร้างขวัญและกำลังใจ, พนักงานรู้สึกเป้นที่ยอมรับ ตั้งใจทำงาน, ทราบประวัติอย่างดี
ภายนอกหน่วยงาน
ข้อดี: มีโอกาสคัดเลือกพนักงานหลากหลายกว้างขวาง, ไม่เกิดปัญหาการขาดแคลน, มีภาพพจน์ดี ไม่ปิดกั้น, ได้แนวคิดใหม่ๆ
ข้อจำกัด: สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่าย, ปิดโอกาสพนักงานภายใน, ต้องศึกษาพนักงานใหม่อย่างรอบคอบ, อาจขัดแย้งระหว่างพนักงานใหม่และพนักงานเดิม
หลักการคัดเลือก
หลักความเท่าเทียมกัน
ให้โอกาสผู้สมัครเท่าเทียมกัน คัดเลือกโดยใช้ระบบคุณธรรม
ระบบการคัดเลือกที่มีประสิทธิภาพ
คัดเลือกได้ตรงความรู้ ความสามารถ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการประเมิน
กำหนดแบบและลักษณะของงานที่จะประเมิน
กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมิน
กำหนดผู้ประเมินและการอบรมผู้ทำการประเมิน
กำหนดวิธีการประเมินผลงาน
การให้คะแนนตามมาตราส่วน
การประเมินตามค่าคะแนน
เน้นผลการปฏิบัติงาน
หลักการพิจารณา
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งปริมาณและคุณภาพ
การประเมินคุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน
ระบบอุปถัมภ์: อาศัยความสนิท อาจะเป็นญาติ ผู้มีพระคุณ เพื่อนสนิท เรียกว่า "ระบบพรรคพวก"
ระบบคุณธรรม: เน้นความรู้ ความสามารถ ต้องการขจัดระบบอุปถัมภ์ออกไป ยึดหลัก 4 ประการ
หลักความมั่นคง
หลักความเป็นกลางทางการเมือง
หลักความสามารถ
หลักเสมอภาค
นางสาวนภสร สุตัน เลขที่ 40 รหัสนักศึกษา 603101040