Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล (Nightingale’ s …
ทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล (Nightingale’ s Environment Theory )
ประวัติของมิสฟลอเรนซ์ไนติงเกล
เป็นผู้นำคนแรกของการพยาบาล
เริ่มชีวิตการเป็นพยาบาลที่ไคซ์เวิร์ธ ประเทศเยอรมันนีในปี ค.ศ. 1851
ประสบการณ์ดูแลผู้ป่วยและทหารบาดเจ็บในสงครามไครเมีย
ได้เขียนไว้ในหนังสือ
Notes on nursing ปี1859
ท่านให้ความสำคัญต่อสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ และความเจ็บป่วยเป็นอย่างมาก
มโนมติหลัก/อภิกระบวนทัศน์
สุขภาพ:เป็นความสามารถดำรงภาวะสุขภาพดีด้วยพลังอำนาจบุคคล
สิ่งแวดล้อม:เป็นสถานการณ์และแรงผลักภายนอกที่มีผลโดยตรงต่อชีวิตและพัฒนาการของบุคคล
การพยาบาล:เป็นการจัดสิ้งแวดล้อมที่ดีที่สุด อำนวยต่อการหายจากความเจ็บปวด
บุคคล:ผู้ป่วยที่มารับการรักษาด้วยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับบุคคล ทำให้มีศักยภาพในการซ่อมแซมและสามารถฟื้นคืนสภาพได้
แนวคิดหรือหลักการสำคัญ
เน้นสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยเป็นสำคัญ การพยาบาลจะเป็นการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดให้กับผู้ป่วย เพื่อให้ธรรมชาติได้มีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น
ทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกลสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยได้โดยการประยุกต์ใช้ตามแนวคิดกระบวนการพยาบาลที่สามารถใช้ได้ตั้งแต่ขั้นประเมินสภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูล มองเห็นความต้องการของผู้ป่วย
การประเมินสุขภาพอนามัยของบุคคล สังเกตผู้ป่วยทั้ง ร่างกาย จิตใจ และความสัมพันธ์ต่างๆที่มีผลกระทบต่อสุขภาพความเจ็บป่วยของผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล ช่วยบรรเทาทุกข์ให้ผู้ป่วยหายจากโรคและปฏิบัติตามกระบวนการรักษาโรค
การปฏิบัติการพยาบาล จัดการกับสิ่งแวดล้อมร่วมกับแพทย์ เพื่อส่งเสริมศักยภาพของผู้ป่วย ช่วยเหลือผู้ป่วย จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
การประเมินผลการพยาบาล จะเป็นการประเมินสภาพการณ์ที่เป็นจริงทั้งในด้านผู้ป่วยสภาพแวดล้อมและการพยาบาลช่วยเหลือ
จุดเน้น/ข้อตกลงเบื้องต้น
เน้นสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยเป็นสำคัญ การพยาบาลจะเป็นการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดให้กับผู้ป่วย เพื่อให้ธรรมชาติมีส่วนให้ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลตามทฤษฎีของไนติงเกล
1.1 สภาพและผลของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่อผู้ป่วย
การสังเกตการจัดกลุ่มข้อมูล
-มีเสียงดังรบกวนเกินไป ท าให้ผู้ป่วยพักผ่อนไม่ได้ หรือไม่
-การถ่ายเทอากาศเป็นอย่างไร
1.2 อาหารและเครื่องดื่ม
-อาหารที่จัดเตรียมให้ผู้ป่วยเหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยหรือไม่
-อาหารนั้นมีคุณค่าอาหารเพียงพอเหมาะสมหรือไม่
ผู้ป่วยชอบอาหารแบบไหน
1.3 ระดับความวิตกกังวล หรือความตื่นตัว
-ญาติหรือผู้ที่มาเยี่ยมมีความคาดหวังอย่างไร
พยาบาลตอบสนองต่ออาการวิตกกังวลต่างๆ ของผู้ป่วยอย่างไร
-ผู้ป่วยแสดงออกถึงความวิตกกังวลอย่างไร
1.4 ผลของความเจ็บป่วยต่อภาวะจิตใจ
-พฤติกรรมเป็นอย่างไร เมื่อมีไข้
ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาต่อความเจ็บปวดอย่างไร
1.ขั้นตอนการประเมินผล
2.ขั้นตอนวินิจฉัยทางการพยาบาล
เน้นที่ความต้องการของผู้ป่วย และ
ระดับพลังชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม
-ผู้ป่วยต้องการความอบอุ่น การถ่ายเทอากาศ การพักผ่อนนอนหลับ และอาหารอย่างเพียงพอ เหมาะสม
3.ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล
ยึดหลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม และการสื่อสารกับผู้ป่วย เพื่อวางแผนร่วมกัน
เช่น
-ให้ผู้ป่วยได้รับแสงแดดทุกวัน
-พยายามสร้างสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการกลับฟื้นคืนสภาพโดยเร็วของผู้ป่วย
4.ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการพยาบาล
และสิ่งแวดล้อม ให้สอคล้องกับความต้องการของผู้ป่วย
เช่น
-จัดหาอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
-ย้ายผู้ป่วยไปห้องอื่น เพื่อความแปลกใหม่
5.ขั้นตอนการประเมินผล
ใช้หลักการสังเกต ประเมินผลจากผลที่เกิดขึ้น ในตัวผู้ป่วย ที่สืบเนื่องจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลสิ่งแวดล้อม
เช่น
น.ส.กัลชิญา อทุมชาย UDA6280001