Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
การประเมิน Ballard’s score
การประเมินลักษณะภายนอกและการตรวจทางระบบประสาททารกเเรกเกิด มารวมกันและเทียบกับ
อายุครรภ์ที่ได้
square window
Arm recoil
กำลังกล้ามเนื้อแขน ตรวจโดยให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย ผู้ตรวจจับมือทารกทั้งสอง มือวางไว้บริเวณกระดูกไหปลาร้านับ
1-5 แล้วจับมือทารกลงข้างลำตัวให้แขนเหยียดตรงแล้ว ปล่อยทันที แขนทารกจะงอกลับด้านศีรษะ
posture
Arm recoil
Popliteal angle
Scarf Sign
ดึงแขนไปไหล่ตรงข้าม ให้ทารกนอนหงายศีรษะตรง ผู้ตรวจจับมือเด็กข้างใดข้าง หนึ่ง ดึงไปยังด้านหลังของไหล่ตรงข้ามให้ไกลเท่าที่จะทำได้แล้วดูแนวที่ข้อศอกของเด็กเคลื่อน ไปถึงจุดใดบริเวณหน้าอก
Heel to ear
ภาวะกดการหายใจในทารกแรกคลอด (Respiratory distress syndrome : RDS)
พยาธิกำเนิด RDS
การขาดและมีความผิดปกติของการสร้าง หลั่ง ผลิตสารลดแรงตึงผิว(Surfactant) ในถุงลมลดลง
ความไม่สมบูรณ์ทางกายวิภาคของเนื้อปอด เซลล์บุหลอดเลือดฝอย และผนังทรวงอก
การมีเลือดไหลลัดจากซ้ายไปขวาเนื่องจากเกิด Patent ductus arteriosus(PDA) ทำให้เลือดไหลไปปอดมากขึ้น
การเพิ่มขึ้นของน้ำในถุงลมและซอกเนื้อเยื่อ
อาการและการแสดง
หายใจเร็ว(Tachypnea) มากกว่า 60 ครั้ง/นาที หรือหายใจลำบาก(Dyspnea)
หน้าอกบุ๋ม(Retraction) บริเวณช่องซี่โครง(Intercostal) ชายโครง (Subcostal)กระดูกลิ้นปี่(Substernal) เนื่องจากการหดตัวอย่างแรง ของกล้ามเนื้อที่ช่วยการหายใจ รวมทั้งความยืดหยุ่นของปอดลดลงและโครงกระดูกซี่โครงเพิ่มขึ้น
มีการหายใจโดยที่ทรวงอกและหน้าท้องเคลื่อนไหวไม่พร้อมกัน (Paradoxical movement(see-saw breathing)
มีเสียงกลั้นหายใจในระยะการหายใจออก(Expiratory grunting)
หายใจมีเสียงคราง(Moaning) ปีกจมูกบาน(Nasal flaring) เขียว(Cyanosis)
อุณหภูมิกายต่ำ กล้ามเนื้ออ่อนแรง บวม ปัสสาวะออกน้อย
การรักษาRDS
การให้สารน้ำ อิเลคโทรลัยต์ และควบคุมกรด-ด่างในระยะ 3 วันแรก ควรงดอาหารสารอาหารที่ให้ในระยะ48 ชั่วโมงแรก คือ 10% D /W โดยคำนวณจากอายุ และน้ำหนักตัว และSpGr
ทารกอาการดีขึ้นเริ่มให้นมมารดาทางOG Tube ให้นมยังไม่ได้ ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Pediatric parenteral nutrition:PPN หรือTotal parenteral nutrition:TPN) พ้นระยะ 48 ชั่วโมงเริ่มให้ Na K และ/หรือ Ca ถ้าพบเลือดเป็นกรดจากเมตาบอลิซึม แก้ไขด้วยNaHCO3
ภาวะแทรกซ้อนRDS
อากาศรั่วในปอด (Pneumothorax) ปอดอักเสบ (Pneumonia) Patent ductuc arteriosus:PDA
อากาศรั่วในปอด (Pneumothorax) ปอดอักเสบ (Pneumonia) Patent ductuc arteriosus:PDA
การพยาบาลRDS
สังเกตอาการพร่องO2 ได้แก่ ระดับการตื่นตัวลดลง ปีกจมูกบาน หายใจมีRetraction อัตราการหายใจเร็วเกิน 60 ครั้ง/นาที เขียว
ดูแลให้O2 ตามแผนการรักษา ระวัง O2 พ่นลงบนใบหน้ากระตุ้นเส้นประสาทคู่ที่5 (Trigiminal nerves)
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะในET tube แบบ Deep โดยใส่สายดูดเสมหะ ถึง Calina และ แบบShallow ใส่สายดูดเสมหะถึงปลาย ET-Tube ใช้เวลาในการ ดูดเสมหะไม่เกิน 10 วินาที
การจัดกลุ่มทารก
ลักณะทารกคลอดก่อนกำหนด
ผิวหนังบาง ไขมันใต้ผิวน้อย มองเห็นเส้นเลือดฝอย
มีขนอ่อนมาก โดยเฉพาะหน้าผาก ไหล่ ต้นแขน
ผิวหนังบาง ไขมันใต้ผิวน้อย มองเห็นเส้นเลือดฝอย
น้ำหนักขึ้นอยู่กับอายุ ทั่วไปไม่เกิน 2500 g
มีรูปร่างเล็ก ศีรษะมีขนาดใหญ่เทียบกับขนาดลำตัว
ใบหูอ่อนนุ่ม งอพับได้ เนื่องจากกระดูกอ่อนน้อย
หัวนมแบนราบ
ทารกก่อนกำหนด อายุครรภ์ <37สัปดาห์
ผิวหนังเรียบและแดง
อายุครรภ์ยิ่งน้อยผิวยิ่งบางคล้ายวุ้น(gelatinous)โปร่งใส เห็นหลอดลือดดำที่หน้าท้องชัดเจน
ทารกครบกำหนด อายุครรภ์>37-42สัปดาห์
ผิวหนังเรียบ(smooth)และชมพูเห็น
หลอดเลือดดำที่หน้าท้องไม่ชัด
อายุครรภ์มากกว่ากำหนด อายุครรภ์<42 สัปดาห์
ผิวหนังลอก(desquamation) ตั้งแต่เเรกเกิดจากการที่เลือดไหลเวียนไปที่รกลดลขณะอยู่ในครรภ์และผิวหนังมีรอยย่น wrinkle
การพยาบาลทารกภาวะติดเชื้อ (Sepsis)
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด Sepsis
ด้านทารก ติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์ ผิวหนัง เยื่อบุที่ทำหน้าที่กีดขวางจุลชีพบอบบาง ฉีกขาดง่าย ระบบการทำงานของเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่ ทำลายจุลชีพก่อโรค (phagocyte)
ระบบ Complement และ Inflamatory response ยังบกพร่อง โดยเฉพาะทารก Preterm LBW Birth Asphyxia ทารกที่ได้รับการทำ หัตถการต่างๆ Hypothermia Hypoglycemia มีโอกาสเกิดการติดเชื้อง่าย
ด้านมารดา ยากจน โภชนาการไม่ดี พิษแห่งครรภ์ มีเลือดออก Birth befor Admit คลอดลำบากต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง Sepsis
อาการทั่วไป:ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ดูไม่ค่อยสบาย (not doing well) มีไข้ ตัวเย็น
ซีด ตัวลายเป็นจ้ำ (mottling) ผิวหนังเย็น ชื้น BP ต่ำ HR เร็ว-ช้า
หายใจไม่สม่ำเสมอ เร็ว ลำบาก Nasal flaring ,Apnea, Cyanosis
พยาธิสภาพของภาวะ Sepsis
Sepsis เป็นผลจากภาวะการติดเชื้อที่เกิดจากกระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงและ ต่อเนื่องในระยะแรกร่างกายจะอยู่ในภาวะ hypodynamic state โดยจะมีการขยายตัวของหลอดเลือดส่วน ปลาย (peripheral vasodilatation)
การพยาบาล Sepsis
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ และป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้ได้รับนมมารดาตามเวลา
ประเมินอาการผิดปกติ เช่น การดูดกลืน การมีนมเหลือค้างในกระเพาะอาหาร บันทึกจำนวน ลักษณะของGastric content ใส่content ที่ดูดออกกลับคืนและลดปริมาณนม
levels of arousal