Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต ( Behavior ), 2.1, 2.2 (2), 2.2 (3), 2.3, 2.5, 2.4…
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
( Behavior )
พฤติกรรมการเรียนรู้ (Learning behavior)
การลองผิดลองถูก (Operant conditioning )
เมื่อได้รางวัลสัตว์ก็จะแสดงพฤติกรรมนั้นซํ้า
ถ้าถูกลงโทษสัตว์ก็จะหลีกเลี่ยงที่จะแสดงพฤติกรรมนั้นอีก
การที่สัตว์เรียนรู้ที่จะเชื่อมโยงพฤติกรรมหนึ่ง
กับการได้รางวัลหรือการถูกลงโทษ
เช่น มด จะตอบสนองได้เร็วกว่าไส้เดือน หนูจะตอบสนองได้เร็วกว่ามด เพราะจำสิ่งต่างๆ ได้ดีกว่า
การลอกเลียนแบบ (Observational learning)
เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการที่สัตว์ดูพฤติกรรมของสัตว์อื่น
และเรียนรู้ข้อมูลสำคัญบางอย่างแล้วทำตาม
พฤติกรรมการฝังใจ (Imprinting)
จะเกิดขึ้นเฉพาะในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต (Critical period)
มีลักษณะเป็น Irreversible learning
เป็นพฤติกรรมที่ถูกกำหนดมาแล้วโดยยีน
สิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการฝังใจเรียกว่า Imprinting stimulus
การรู้จักใช้เหตุผล
(Insight learning)
การใช้เหตุผลเป็นการใช้ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบโต้ต่อสิ่งเร้า
เป็นพฤติกรรมที่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้นและจะเกิดมากในคนเรา
การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Classical conditioning)
เป็นการที่สัตว์เรียนรู้ที่จะนำสิ่งเร้าใหม่เข้าไปทดแทนสิ่งเร้าเดิม
กระตุ้นให้สัตว์เกิดการตอบสนองตามธรรมชาติ (Unconditioned response)
การใช้ความคิดประมวลข้อมูล
เพื่อการตัดสินใจ (Cognition)
การคิดประมวลข้อมูลเป็น ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
เป็นส่วนสำคัญในการแสดงออกของพฤติกรรม 10
พฤติกรรมความเคยชิน (Habituation)
เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการที่สัตว์หยุดตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ซ้ำๆกัน
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด (Innate behavior)
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดในสัตว์
ไคนีซีส (kinesis)
เป็นการเคลื่อนที่เข้าหาหรือออกจากสิ่งเร้าโดยมีทิศทางไม่แน่นอน
แมลงสาบก็มีพฤติกรรมแบบไคนีซีส ในสภาพปกติจะอาศัยอยู่ตามซอกมุมหรือที่แคบๆ
โดยมันอยู่ นิ่งๆ หนวด ขน ตามตัวมันจะรับสัมผัสได้ดี
เเทกซิส (taxis)
เป็นการเคลื่อนเข้าหาหรือออกจากสิ่งเร้าโดยมีทิศทางแน่นอน
พฤติกรรมนี้จะก่อให้เกิดการรวมกลุ่มกันได้เป็นอย่างดี
เช่น การบินเข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า
การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา
รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง
(chain of reflex)
ประกอบด้วย พฤติกรรมรีเฟล็กซ์ย่อยๆหลายพฤติกรรม
และพฤติกรรมหนึ่งจะไปกระตุ้นพฤติกรรมอื่นๆได้ด้วย
เช่น การชักใยของแมงมุม การแทะมะพร้าวของกระรอก เป็นต้น
มีการกำหนดเป้าหมายไว้แน่ชัดภายในตัวสัตว์
รีเฟล็กซ์ (reflex)
พฤติกรรมนี้พบมากในสัตว์หลายเซลล์ชั้นต่ำ เช่น หนอน แมลง
พฤติกรรมนี้เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างทันทีทันใด
โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากสมองเช่น
รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสัตว์ทุกชนิด
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดในพืช
พืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการเรียนรู้เหมือนสัตว์
เป็นพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำเนิด ทั้งสิ้น
นิเวศวิทยาพฤติกรรม
(Behavioral Ecology )
การอพยพ (migration)
การเดินทางไปและกลับระหว่าง 2 ที่มักเกิดขึ้นในรอบ 1 ปี
อาศัยกลไกต่อไปนี้
orientation หมายถึง การที่สัตว์สามารถหาทิศและเดินทางเป็นเส้นตรงไปยังทิศนั้นระยะทางหนึ่งหรือจนกว่าจะถึงจุดหมาย
navigation นับว่าเป็นกระบวนการที่สลับซับซ้อนที่สุด สัตว์ต้องหาตำแหน่งของตัวเอง
โดยเปรียบเทียบกับตำ แหน่งอื่นและต้องใช้ orientation ร่วมด้วย
piloting หมายถึง การที่สัตว์เคลื่อนที่จาก landmark หนึ่งไปยังอีก landmark
การอพยพการเคลื่อนที่ของสัตว์จากที่หนึ่งซึ่งมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ไปยังอีกที่หนึ่งซึ่งมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมกว่า
Behavioral rhythms
เวลาที่ถูกต้องในการเกิด rhythmic behavior จะต้องถูกกระตุ้นโดยปัจจัยภายนอก
พฤติกรรมที่สัตว์แสดงเป็นประจำทุก 24 ชั่วโมง หรือทุกปี
พฤติกรรมสังคม
(Social behavior)
พฤติกรรมการสืบพันธุ์ (reproductive behavior)
เกี่ยวข้องกับการเกี้ยวพาราสี (courtship) และระบบการผสมพันธุ์ (mating system)
ระบบการผสมพันธุ์ของสัตว์ได้ 3 แบบ
promiscuous เมื่อผสมพันธุ์กันแล้วเพศผู้และเพศเมียไม่ได้อยู่ด้วยกันตลอดเวลา
monogamous เพศเมีย 1 ตัวผสมกับเพศผู้ 1 ตัว และคู่ผสมพันธุ์อยู่ด้วยกันเป็นเวลานาน
polygamous เพศหนึ่งผสมกับอีกเพศหนึ่งหลายตัว ถ้าเพศผู้ 1 ตัวผสมกับเพศเมียหลายตัว เรียกpolygyny ถ้าเพศเมีย 1 ตัวผสมกับเพศผู้หลายตัว เรียกว่า polyandry
พฤติกรรมการป้องกันอาณาเขต (territorial behavior)
จะแสดงพฤติกรรมการป้องกันอาณาเขตโดยการขับไล่สปีชีส์เดียวกัน
ที่บุกรุกเข้ามาในอาณาเขตของมัน
สัตว์บางชนิดมีการสร้างอาณาเขต (territory) ของตัวเอง
การจัดลำดับความสำคัญในสังคม (dominance hierarchies)
พบในสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นสังคม
การจัดลำดับความสำคัญในสังคมนี้พบได้ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย
พฤติกรรมการร่วมมือกัน (cooperative behavior)
การอยู่ร่วมกันบางครั้งสัตว์จะต้องมีการร่วมมือกัน
เพื่อทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งไม่อาจทำได้โดยลำพัง
พฤติกรรมการต่อสู้
(agonistic behavior)
ฝ่ายชนะจะได้ resources ไปครอบครอง
มักเกิดขึ้นเพื่อแย่ง resources บางอย่าง
พฤติกรรมการต่อสู้จะเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมข่มขู่ (threatening behavior) และพฤติกรรมยอมจำนน (submissive behavior)
พฤติกรรมการหาอาหาร (Foraging behavior)
generalists เป็นสัตว์ที่กินอาหารหลายอย่าง
specialists เป็นสัตว์ที่กินอาหารเฉพาะอย่าง
นางสาวทักศิณา ชาแสน ม 6/2 เลขที่ 10