Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1 รุ่น36/2 612001081, บทที่4 …
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1 รุ่น36/2 612001081
บทที่4 เด็กจมน้ำ,เด็กสำลักสิ่งแปลกปลอม
การจมน้ำ Drowning
Drowning คือการเสียชีวิตจากการจมน้ำ
Near-Drowning คือผู้ที่จมน้ำแต่ยังไม่เสียชีวิต หรือบางรายอาจเสียชีวิตในเวลาต่อมา
1.การจมน้ำเค็ม (Salt-water Drowning) เกิดภาวะ
pulmonary edema น้ำในร่างกายลดลง เกิดภาวะ hypovolemia
หัวใจเต้นผิดปกติ
หัวใจวาย
ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูง
ช็อก
2.การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning) น้ำจืดจะซึมเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตของปอด เกิด hypervolemia
ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
หัวใจวาย
เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ในกรณีที่เด็กรู้สึกตัว
รีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ใช้ผ้าคลุมตัวเพื่อให้ร่างกายอบอุ่น
จัดท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ
จากนั้นนำส่งโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ในกรณีที่เด็กหมดสติ
ดูว่ายังมีลมหายใจ หัวใจเต้นอยู่ไหม
ถ้าไม่พบสัญญาณชีพให้โทรเรียกหน่วยกู้ภัยหรือรถพยาบาล
นวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
ปัญหาที่เกิดหลังการสำลัก
1.เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้น
2.เกิดการอุดกั้นหลอดลมส่วนปลาย
ภาวะปอดแฟบ
ปอดพอง
หอบหืด
3.เกิดการอุดกั้นจากเสมหะในทางเดินหายใจ
การอักเสบติดเชื้อ
หลอดลมอักเสบ
ปอดอักเสบ
กรณีเกิดกับเด็กอสยุน้อยกว่า 1 ขวบ
1.คว่ำเด็กลงบนแขนและวางแขนบนตัก โดยศีรษะเด็กต้องอยู่ต่ำ
2.เคาะหลัง 5 ครั้ง บริเวณกึ่งกลางกระดูกสะบัก
3.หงายเด็กลงบนแขนอีกข้าง กดหน้าอกโดยใช้ 2 นิ้วกดบนกระดูกหน้าอก
4.ทำซ้ำจนกว่าจะมีสิ่งแปลกปลอมออกมา
5.หากเด็กหมดสติ ประเมินสัญญาณชีพและให้การช่วยเหลือสลับกับการเคาะหลัง และกดหน้าอก
ในกรณีที่เด็กอายุมากกว่า 1 ปี
1.กระตุ้นให้เด็กไอ
2.ถ้าเด็กพูดไม่ได้หรือมีอาการหนัก ให้ผู้ช่วยยืนด้านหลังเด็ก แล้วอ้อมแขนมาด้านหน้า กำมือเป็นกำปั้นวางไว้ด้านข้าง และกดโดยทิศทางเข้าด้านในและเฉียงขึ้น
หายใจลำบาก
ซีด เขียว
3.กดซ้ำจนกว่าจะมีสิ่งแปลกปลอมออกมา
4.ถ้าเด็กหมดสติ รีบประเมินสัญญาณชีพ และให้การช่วยเหลือสลับกับการกดกดท้อง
5.กรณีที่กดท้องในเด็กหมดสติ ให้จัดท่านอนราบ นั่งคล่อมตัวเด็ก วางสันมือสูงกว่ากว่าสะดือ กด 5 ครั้ง และเปิดปากว่าสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาหรือไม่
คำแนะนำป้องกันการสำลัก
1.เลือกชนิดอาหารให้เหมาะสม ไม่ควรวิ่งเล่นขณะรับประทานอาหาร
2.จัดเก็บสิ่งของที่อาจเป็นอันตราย
ความแตกต่างการกดหน้าอกแต่ละช่วงวัย
วัยผู้ใหญ่
กด 100-120 ครั้ง/นาที
บริเวณกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 5-6 ซม.
ใช้ 2 มือในการช่วยกด
เด็กโต
กด 100-120 ครั้ง/นาที
บริเวณกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 5 ซม.
ใช้มือเดียวในการกด และมืออีกข้างใช้ในการเปิดทางเดินหายใจ
เด็กทารก
กด 100-120 ครั้ง/นาที
บริเวณกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 4 ซม.
กดโดยใช้มือ2 นิ้ว และอีกข้างทำการเปิดทางเดินหายใจ