Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง - Coggle Diagram
บทที่ 6 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร(Population)
หมายถึง สมาชิกทุกหน่วยของสิ่งที่สนใจศึกษา ประชากรไม่ได้หมายถึงคนเพียงอย่างเดียว อาจจะเป็นสิ่งของ เวลา สถานที่หรืออื่นๆ ที่เราสนใจศึกษา
Inclusion criteria เป็นการกำหนดลักษณะประชากรที่ผู้วิจัยตัองการศึกษา เป็นประชากรที่ต้องการจะอ้างผลการศึกษาไปถึง (generalization)
Exclusion criteria เป็นระบุลักษณะบุคคลที่จะไม่นำมาศึกษาแม้ว่าจะมีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเลือกเพื่อลดปัญหาที่อาจเกิดในงานวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง(Sample)
หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่นำมาศึกษาซึ่งเป็นตัวแทนของประชากร
กลุ่มตัวอย่างต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
ต้องมีการเลือกตัวอย่างและขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม
ดังนั้นการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ดีจึงจำเป็นต้องใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่ดี
มีขนาดพอเหมาะ
ต้องเป็นตัวแทนที่ดี
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
จำนวนประชากร ถ้าประชากรมากควรใช้ตัวอย่างมาก
ความแปรปรวนของประชากร หากความแปรปรวนมีมากต้องใช้กลุ่มตัวอย่างมาก
ระดับการยอมรับความแตกต่างระหว่างค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่างกับค่าพารามิเตอร์ หากยอมรับความแตกต่างได้ก็ไม่ต้องใช้กลุ่มตัวอย่างมาก
จำนวนงบประมาณและเวลาที่ใช้ในการวิจัยหากมีมากพอก็ใช้ตัวอย่างมาก
ความสาคัญของขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
การใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กจะทาให้มีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนมาก
การใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างใหญ่จะมีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนน้อย
กลุ่มตัวอย่างยิ่ง มีขนาดใหญ่มากเท่าใด ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มจะลดน้อยลง
วิธีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
จากการกาหนดเกณฑ์
การใช้สูตรคานวณ
การใช้ตารางสาเร็จรูป
วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ประเภทของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น ( Probability samplingsampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยสามารถกาหนดโอกาสที่หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยถูกเลือกทาให้ทราบความน่าจะเป็นที่แต่ละหน่วยในประชากรจะถูกเลือก การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้สามารถนาผลที่ได้อ้างอิงไปยังประชากรได้
เป็นการสุ่มหน่วยตัวอย่างจากประชากร โดยมีเงื่อนไขดังนี้
รู้จานวนประชากรทั้งหมด
ใช้วิธีการสุ่มที่เหมาะสม เพื่อให้หน่วยตัวอย่างมีโอกาสถูกสุ่มเท่าเทียมกัน
ใช้วิธีประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม
ประชากรทั้งหมดมีโอกาสที่จะถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกัน
1.การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random
sampling)
1) วิธีจับฉลากโดยการเขียนหมายเลขจำนวนประชากรทั้งหมดใส่ภาชนะแล้วทำการจับหมายเลข
2) วิธีใช้ตารางตัวเลขสุ่ม ใช้สำหรับประชากรที่มีขนาดใหญ่
การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Random Sampling
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยมีรายชื่อของทุกหน่วยประชากรมาเรียงเป็นระบบตามบัญชีเรียกชื่อ
ประชากรจะถูกจัดเรียงเป็นลำดับไว้แล้ว
การสุ่มจะแบ่งประชากรออกเป็นช่วงๆ ที่เท่ากัน
การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ(Stratified Random)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแยกประชากรออกเป็น กลุ่มประชากรย่อย หรือแบ่งเป็นชั้นภูมิก่อนโดยหน่วยประชากรในแต่ละชั้นภูมิจะมีลักษณะเหมือนกัน(homogenious )
แล้วสุ่มอย่างง่ายหน่วยตัวอย่างจากทุกระดับชั้น
วิิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
การสุ่มตามระดับชั้นต่างไม่เป็นสัดส่วน
การสุ่มเป็นระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วน
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster Random Sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแบ่งประชากรออกตามพื้นที่โดยไม่จำเป็นต้องทาบัญชีรายชื่อของประชากร
ลักษณะการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม
กำหนดให้ภายในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีคุณลักษณะต่างๆกัน ครบถ้วนตามประชากรที่ต้องการศึกษา
ระหว่างกลุ่มมีคุณลักษณะเหมือนกันมากที่สุด
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multistage Stage sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างที่มีจำนวนประชากรมาก และผู้วิจัยไม่รู้ขอบข่ายแน่นอนของประชากร
เป็นการสุ่มที่ใช้หลักการพิจารณาวิธีการสุ่มทั้ง 4 แบบ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยต้องการอย่างแท้จริง
การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น(Nonprobability sampling )
เป็นการุส่มหน่วยตัวอย่างที่บางครั้งอาจไม่ทราบจำนวนประชากรที่แท้จริง ทำให้ไม่สามารถใช้การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะป็นได้ และการสุ่มแต่ละครั้งนั้นทุกๆหน่วยของประชากรมีโอกาสถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างไม่เท่าเทียมกัน
การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย (Convenience หรือ Accidental Sampling)
เป็นการเลือกแบบไม่มีกฎเกณฑ์ อาศัยความสะดวกของผู้วิจัยเป็นหลัก
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive หรือ Judgmental Sampling)
เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่จ ะเป็นใครก็ได้ที่มีลักษณะตามความต้องการของผู้วิจัย
การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า(Quota Sampling)
เป็นการเลือกตัวอย่างโดยกาหนดคุณลักษณะและสัดส่วนที่ต้องการไว้ล่วงหน้า
การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling)
เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยการแนะนาของหน่วยตัวอย่างที่ได้เก็บข้อมูลไปแล้ว
วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง (Sampling) หมายถึง กระบวนการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีความเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร