Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 บาดแผลไฟไหม้ สารพิษ กระดูกหัก, นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล …
บทที่4 บาดแผลไฟไหม้ สารพิษ กระดูกหัก
สารพิษ (Poisons)
คือสารเคมีทั้งของแข็ง ของเหลวและแก๊ส เข้าสุ่ร่างกายโดย การรับประทาน การหายใจเข้า การฉีด หรือทางผิวหนัง
การจำแนกตามการออกฤทธิ์ ได้ดังนี้
1.ชนิดกัดเนื้อ (Corrosive) ทำให้เนื้อเยื่อ พอง ไหม้
สารละลายกรด-ด่างเข้มข้น
น้ำยาฟอกขาว
2.ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants) เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน
ฟอสฟอรัส
สารหนู
อาหารเป็นพิษ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
3.ชนิดกดระบบประสาท (Narcotic) ทำให้หมดสติ ม่านตาหดเล็ก
ฝิ่น
มอร์ฟีน
พิษจากงูบางชนิด
4.ชนิดกระตุ้นระบบประสาท (Dililants) เกิดอาการเพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นเร็นใบหน้าแดง ช่องม่านตาขยาย
ยาอะโทรปีน
การประเมินเมื่อได้รับสารพิษ
คลื่นไส้ อาเจียน น้ำลสยฟูมปาก มีรอยไหม้บริเวณริมฝีปาก
เพ้อ หมดสติ ชัก ขนาดช่องม่านตาผิดปกติ
หายใจลำบาก เขียวปลายมือปลายเท้า
ตัวเย็น เหงื่อออก มีผื่น/จุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาล
ได้รับพิษทางปาก
ทำให้พิษเจือจางด้วยการให้ดื่มนม
รีบส่งโรงพยาบาล เพื่อล้างท้อง
ให้ผู้ป่วยอาเจียน ให้พิษออกจากกระเพาะอาหาร
สารดูดซับสารพิษ คือ Activated charcoal
ถ้าหาไม่ได้อาจใช ้ไข่ขาว ๓ - ๔ ฟอง ตีให้เข้ากัน
ได้รับพิษสารกัดเนื้อ (Corrosive
substances )
อาการและอาการแสดง
ร้อนบริเวณริมฝีปาก ปาก
ไหม้ พอง
อาเจียน กระหายน้ำ
มีอาการภาวะช็อค
การปฐมพยาบาล
เมื่อรู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
ห้ามอาเจียน
รีบส่งโรงพยาบาล
ได้รับสารพวกน้ำมันปิโตรเลียม ได้แก่ ยาฆ่าแมลง เบนซิน น้ำมันก๊าด
อาการและอาการแสดง
แสบร้อนปาก คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการขาดออกซิเจน
ปลายมือปลายเท้าเขียว
การปฐมพยาบาล
ห้ามทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
ถ้าผู้ป่วยอาเจียน ให้จัดศีรษะต่ำ เพื่อป้องกันการสำลักเข้าปอด
ได้รับยาแก้ปวด ยาลดไข้
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ มีเสียงกระดิ่งในหู การได้ยินลดลง
คลื่นไส้อาเจียน ชีพจรเร็ว ใจสั่น หายใจเร็ว
ง่วงซึม เหงื่อออก ความดันต่ำ
การปฐมพยาบาล
ทำให้พิษเจือจาง
ทำให้อาเจียน
ให้สารดูดซับพิษ
ได้รับพิษทางการหายใจ เช่นคาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน
อาการและอาการแสดง
ร่างกายขาดออกซิเจน
ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ
เม็ดเลือดแดงแตก ปัสสาวะเป็นเลือด
ตัวตาเหลือง
การปฐมพยาบาล
นำผู้ป่วยออกจากที่เกิดเหตุไปยังอากาศบริสุทธิ์
ประเมินสัญญาณชีพ
ได้รับสารเคมีทางผิวหนัง
การปฐมพยาบาล
ล้างด้วยน้ำสะอาด 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษ เพราะความร้อนจะทำให้เกิดอันตรายมากขึ้น
ปิดแผลและส่งโรงพยาบาล
สารเคมีเข้าตา
การปฐมพยาบาล
ล้างตาด้วยน้ำสะอาด 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี เพราะจะทำให้เกิดความร้อนและอันตรายมากขึ้น
ปิดแผลและนำส่งโรงพยาบาล
บาดแผลไฟไหม้
น้ำร้อนลวก (Burns) มีอาการปวดแสบปวดร้อนพอทนได้ และค่อย ๆ หายไปได้เอง
สาเหต
ความร้อน
ประทัด พลุ
เตาไฟ ตะเกียง
เตารีด
หม้อน้ำ กาน้ำ
สารเคมีกรด-ด่าง
รังสี
แสงแดด
แสงอัลตราไวโอเลต
รังสีเรเดียม
อาการ
ทำให้สูญเสียน้ำ โปรตีน และเกลือแร่
ภาวะช็อก
มีโอกาสติดเชื้อ
บาดแผลที่มือหรือข้อพับ ทำให้มีแผลดึงรั้ง เหยียดออกไม่ได้
ความลึกของบาดแผล (Degree of burnwound)
ชั้นหนังกำพร้า (Epidermis)
ชั้นหนังแท้ (Dermis)
บาดแผลไฟไหม้แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 First degree burn
หมายถึง บาดแผลที่ทำลายเซลล์หนังกำพร้าผิวนอกเท่านั้น โดยปกติจะหายได้เร็วและสนิท ไม่ทำให้เกิดแผลเป็น
ระดับที่ 2 Second degree burn แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
2.1 ชนิดตื้น (Superficial partialthickness burns) มีการทำลายของหนังกำพร้าชั้นผิวนอกและในสุด
เกิดแผลพุพองเป็นตุ่มน้ำใสขนาดเล็กและใหญ่
มีน้ำเหลืองซึม
ผิวหนังหลุดลอกออกเห็นเนื้อสีชมพู
2.2 ชนิดลึก ((Deep partialthickness burns) มีการทำลายของชั้นหนังแท้ส่วนลึก
แผลเป็นสีเหลืองขาว ไม่ค่อยมีแผลพุพอง
ทำให้เกิดแผลเป็นแต่ไม่มาก
ใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่ช่วยให้ไม่ติดเชื้อ
ระดับที่ 3 Third degree burn
คือ บาดแผลที่ทำลายหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมถึงต่อมเหงื่อ รูขุมขน เซลล์ประสาท
ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวด
มีโอกาสแผลเกิดแผลหดรั้งทำให้ข้อยึดติด ถ้าได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง
การพยาบาล
1.ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดแล้วใช้ผ้าก๊อซปิดแผลไว้
2.แผลที่เป็นตุ่มใส ไม่ควรเอาเข็มเจาะเพราะอาจทำให้เกิดการติดเชื้อ
3.ถ้าแผลมีขนาดกว้าง อาจทำให้เกิดภาวะช็อกได้
ยาปฏิชีวนะ
1% ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน
มีฤทธิ์กว้าง-ภาวะแทรกซ้อนในระยะ 2-3 วันแรก คือภาวะขาดน้ำ ช็อก
การติดเชื้อ
บาดแผลระดับที่ 2 มีขนาดมากกว่า 30%
บาดแผลระดับที่ 3 มีขนาดมากกว่า 10 % เป็นบาดแผลที่รุนแรง
กระดูกหัก ((Bone fracture , Fracture
หรือ Broken bone)
คือมีรอยแตกหรือรอยแยก ไม่ต่อเนื่องกันของกระดูก
การแบ่งกระดูกหักตามบาดแผล
1.กระดูกหักไม่มีแผล (Closed fracture) กระดูกจะไม่โผล่ออกมานอกผิวหนัง
2.กระดูกหักแบบแผลเปิด ((Compound fracture หรือ Open fracture) อาจทะลุออกมานอกเนื้อ ถือว่าร้ายแรงเพราะจะทำให้ตกเลือดรุนแรง
แบ่งตามรอยที่หัก
กระดูกหักทั่วไป (Simple fracture) กระดูกแตกออกเป็น 2 ชิ้น
กระดูกยุบเข้าหากัน (Impacted fracture) กระดูกแตกทั้ง 2 ด้าน มักเกิดการหักฝัง
กระดูกเดาะ (Greenstick fracture) กระดูกแตกด้านเดียว ส่วนอีกด้านโก่ง
การปฐมพยาบาล
1.ประเมินการบาดเจ็บ
2.การปฐมพยาบาลด้วยการ CPR
3.ถ้ามีเลือดออกให้ห้ามเลือด
4.ดามกระดูกที่หัก
ประคบน้ำแข็งบริเวณบาดแผล
การห้ามเลือด
หาสายรัดมารัดเหนือบาดแผลให้แน่น (คลายสายรัดทุก 15 นาทีครั้งละ 30-60 วินาที)
การดามกระดูกชั่วคราว
ใช้แผ่นไม้หรือพลาสติดแข็ง ทำเป็นเฝือกวางแนบกับส่วนที่หัก และควรมีสิ่งนุ่มรองรับผิวหนัง แล้วรัดทั้งหมดเข้าด้วยกันด้วย เชือก
การประคบน้ำแข็ง
ประคบทันทีที่รอรถพยาบาล เพราะการประคบเย็นจะช่วยบรรเทาอาการปวด และให้เลือดหยุดไหล โดยประคบประมาณ 20 นาที
การใส่เฝือก
หากมีอาการปวดหรือรู้สึกคับ ควรีบไปพบแพทย์
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1 รุ่น36/2 612001081