Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพของเด็กแต่ละวัย - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสุขภาพของเด็กแต่ละวัย
วัยทารกแรกเกิดและทารก
ความหมาย
ทารกแรกเกิด : แรกเกิด – 28 วัน (เมื่อคลอด full term)
ทารก : 28 วัน – 1 ปี
ลักษณะทางสรีระวิทยา
ระบบทางเดินหายใจ
: ทารกแรกเกิดหายใจไม่สม่ำเสมอ อัตราการหายใจประมาณ 40 – 60 ครั้ง/นาที
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
: ทารกแรกเกิดอัตราการเต้นของหัวใจ 120 – 160 ครั้ง/นาที, ความดันโลหิต 80/50 mmHg
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
: อุณหภูมิ 37 +2,-2 °c
สูญเสียความร้อนทางการแผ่รังสี (Radiation) และการระเหย (Evaporation)มากที่สุด
ระบบทางเดินอาหาร
: ทารกแรกเกิดเมื่อคลอดครบกาหนดจะดูดได้ดี กระเพาะอาหารมีความจุในสัปดาห์แรก : 10 - 20 ซีซี
สัปดาห์ที่ 2-3 : 75 - 100 ซีซี
อายุ 7 เดือน : 90 - 100 ซีซี
**ถ่ายขี้เทา (Meconeum) ใน 24 ชั่วโมงแรกต่อมาจะเป็นสีเหลืองมีเนื้อปนน้ำเมื่อได้รับนมมารดา
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
: ทารกแรกเกิดไตทางานยังไม่สมบูรณ์ อาหารรสเค็มจัด อาจมีผลต่อไต
ปัสสาวะ วันละ 2 – 6 หรือ 0.05 – 1 ซีซี/กก./นาที
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
พัฒนาการด้านร่างกาย
ส่วนสูง
แรกเกิด ร่างกายยาว 50 ซม.,
12 เดือน ร่างกายยาว 75 ซม.
น้ำหนัก
แรกเกิดทารกจะหนักประมาณ 3,000 กรัม อายุ 5 เดือน น้ำหนักจะเป็น 2 เท่าของแรกเกิด, อายุ 12 เดือน น้ำหนักจะเป็น 3 เท่าของแรกเกิด
สัดส่วนของร่างกาย
แรกเกิด ความยาวของศีรษะต่อลำตัว 1 : 4
โตเต็มที่ ศีรษะต่อลำตัว 1 : 8
พัฒนาการของโครงกระดูกและฟัน
ฟันน้านมซี่แรกขึ้นเมื่ออายุ 6 เดือน
ขึ้นครบ 20 ซี่ เมื่ออายุ 24-30 เดือน
ฟันแท้เริ่มขึ้นเมื่ออายุ 6 ปี และ
ขึ้นครบ 32 ซี่ เมื่ออายุ 17 – 25 ปี
พัฒนาการของระบบประสาท
การเพิ่มจานวนขนาดและการทำหน้าที่ของเซลล์ ใน 6 เดือนแรกของชีวิตพัฒนาได้ 50%, อายุ2 ปี พัฒนาได้ 75%
การรับรู้และการเคลื่อนไหวจึงพัฒนาเร็วในช่วงนี้
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
6 สัปดาห์ ยกศีรษะได้
สัปดาห์ - 3 เดือน มองตามสิ่งของที่มีสีสด ยกอกได้ในเวลาสั้น
3 – 4 เดือน พลิกตัวได้
4 – 5 เดือน พยายามเคลื่อนที่
6 – 8 เดือน กลิ้งตัวได้ หยิบจับของใกล้ๆ ฟัน 2 ซี่แรกขึ้น
8 – 12 เดือน นั่งได้ คลานคล่อง
พัฒนาการทางอารมณ์
ความโกรธ
เมื่อทารกถูกขัดขวางไม่ให้ทาตามที่ตนปรารถนา โดยการร้องกรี๊ดๆ ใช้ขาเตะถีบ โบกแขนไปมา
ความกลัว
ทารกกลัวคนแปลกหน้า เสียงดัง ปฏิกิริยา คือ การร้องไห้ ถอยหนี หลบซ่อน ตัวสั่น
ความเบิกบาน
หัวเราะเมื่อมีผู้เล่นด้วยหรือดูคนอื่นเล่น
ความรัก
เกิดขึ้นเมื่อทารกได้รับการเลี้ยงดู เอาใจใส่จากบิดา มารดา
ความอยากรู้อยากเห็น
ทารกจะอยากรู้
อยากเห็นสิ่งที่อยู่รอบตัวและอยากสารวจโดยไม่กลัวอันตราย
พัฒนาการทางสังคม
ทารกตอนต้น(2 - 3 เดือน) แสดงออกโดยการ
สบตา การส่งเสียงอือออ บอกความต้องการติดต่อกับคนอื่นๆ ทารกจะยิ้มและส่งเสียงอือออเมื่อเห็นหน้าคนใกล้ชิดแต่จะร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
พัฒนาการทางสติปัญญา
การพัฒนาการรับรู้
ทารกมีพัฒนาการด้านการ
รับรู้รวดเร็วมาก ช่วยให้สามารถรับรู้ จดจำและตีความข้อมูลที่ได้รับได้ดี
วิธีการเรียนรู้ของทารก
เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม
พัฒนาการด้านการรู้คิดของทารก
เริ่มพัฒนาความคิดที่เป็นเหตุ ป็นผลขึ้น ทางปฏิกิริยารีเฟลกซ์และประสาทสัมผัส โดย
แรกเกิด - 1 เดือน : เริ่มจากการดูด
1 - 4 เดือน : การเคลื่อนไหวโดยไม่มีจุดมุ่งหมาย
4 - 10 เดือน : เริ่มสารวจสิ่งแวดล้อมรอบตัวเอง
10 - 12 เดือน : เริ่มมีจุดมุ่งหมายในการทำ
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในวัยทารกแรกเกิดและทารกและ
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข/ป้องกัน
ภาวะตัวเหลือง (jaundice)
พบได้ในทารกภายหลังเกิด 24 ชั่วโมง ตับยังทำหน้าที่ในการขับถ่ายบิลิรูบินไม่สมบูรณ์(Physiology jaundice) ร่วมกับการสร้างบิลิรูบินมาก
อาการที่พบ คือ เริ่มเหลืองที่ใบหน้าเข้าหาลำตัว แขน ขา และสุดท้ายที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า
การดูแล
ให้ทารกได้รับน้ำหรือนมมากพอที่จะช่วยขับสารบิลิรูบินออกทางปัสสาวะและอุจจาระ
แนะนามารดาให้ดื่มน้ำและนมอย่างเพียงพอ
ภาวะตัวเหลืองจากนมแม่
พบ 2-4% ในทารกที่กินนมแม่ จะเหลืองในวันที่ 3-5 หลังคลอดและเหลืองนาน 2-3 เดือน
การดูแล
งดนมมารดา 2-3 วันแล้วให้ต่อไป,แม่ งดอาหารแคโรทีนสูง
ภาวะตัวเย็นและภาวะอุณหภูมิกายสูง(Hypo-Hyperthermia)
ภาวะอุณหภูมิกายสูง
(Hyperthermia):อุณหภูมิทวารหนักเกิน 37.2 °c
สาเหตุ: พบบ่อยกว่าการติดเชื้อคืออยู่ในสวล.ที่ร้อนไป (สวมเสื้อ/ห่อผ้า)
ระยะแรก-หงุดหงิด แล้วเริ่ม คว.ช้าลง หายใจเร็ว+แรง หรือหยุดหายใจ ซึม ผิวหนังอุ่นกว่าปกติ
ทารกแรกเกิด : แรกเกิด – 28 วัน (เมื่อคลอด full term)
การดูแล
เช็ดตัวด้วยน้ำที่มีอุณหภูมิ 35 °c จน BT ปกติ หากอุณหภูมิลดลงแล้วทารกยังซึมหรือมีไข้ให้พาไปพบแพทย์
ภาวะตัวเย็น
(Hypothermia) : อุณหภูมิทวารหนักต่ำกว่า 36.8 °c
สาเหตุ:จากการปรับอุณหภูมิห้อง ฤดูหนาว
ระยะแรก มือ-เท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลาย ซึม ดูดนมน้อยลง ช้า/ไม่ดูดนม อาเจียน ท้ออืด น้าหนักไม่ขึ้น/ลดลง
การดูแล
ดูแลให้ความอบอุ่น จน BT ปกติ ภายใน 1 ชั่วโมง หากอุณหภูมิปกติแล้วทารกยังซึมให้พาไปพบแพทย์
เยื่อบุนัยน์ตาอักเสบ(Conjunctivitis)
สาเหตุ: - ระคายเคืองสารเคมี, ติดเชื้อขณะคลอด, ภายหลังคลอด
การป้องกัน
:ทารกแรกเกิดทุกคนจะได้รับการหยอด/ป้ายตาด้วย 1% silver nitrate ข้างละ 2 หยด หรือ 1%tetracycline ภายใน 1 ชั่วโมงหลังคลอด
การดูแล
: ทำความสะอาดด้วยสาลีชุบน้ำกลั่นหรือน้ำต้มสุก เมื่ออาบน้ำครั้งแรกและสังเกตอาการต่อไป หากมีอาการตาแดง มีขี้ตามาก -พบแพทย์
สารอก อาเจียน
สาเหตุ: - ร้องไห้รุนแรงเป็นเวลานาน มีลมในกระเพาะอาหาร กลืนลมหรือนมถี่ไป น้ำนมแม่มาก+ไหลเร็ว การได้รับนมมากเกินไป ให้นมทุกครั้งที่ร้องไห้
**ถ้าหากทารกที่กินนมกระป๋องมีอาการอาเจียนบ่อยๆหลังกินนม –งดให้นมขวดตลอด 24 ชม. ให้ดูดน้ำต้มสุกหรือน้ำเกลือแร่ตามต้องการ ถ้ามีอาการอาเจียนหลายครั้งมากกว่า 6 ชม.หรอมีภาวะขาดน้ำอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ ปากและริมฝีปากแห้ง ปัสสาวะสีเข้ม ไม่ปัสสาวะนาน 6 ชม. เบ้าตาลึกบุ๋ม ซึมหรือง่วงผิดปกติ -พบแพทย์
เยื่อบุนัยน์ตาอักเสบ(Conjunctivitis)
สาเหตุ:
เกิดจากเชื้อรา Candidaที่ได้รับขณะคลอดหรือจุกนมที่ปนเปื้อนเชื้อรา
พบแผ่นสีขาวคล้ายคราบนมติดอยู่ริฝีปาก ลิ้น เหงือก เพดานปาก หรือกระพุ้งแก้ม แผ่นติดแน่นกับเยื่อบุ เขี่ยออกยาก
ทารกดูดนมได้น้อยลง หรือไม่มีอาการใดๆ
การรักษา
1% Gentian violet ป้ายตาแหน่งที่มีแผ่นขาว วันละ 3 ครั้งหลังดูดนม
สะอึก
พบได้บ่อย เนื่องจากการทางานกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลมยังไม่สัมพันธ์กันดีเท่าที่ควร –หายไปเอง
แต่ถ้ายังสะอึกต่อเนื่องนาน เป็นประจำ –รบกวนการนอนหลับ/การหายใจ –พบแพทย์
การดูแล
อุ้มกอด ปลอบโยน
ท้องผูก
ทารกบางคนเมื่ออายุได้ครึ่งเดือนจะถ่ายน้อยลง เช่น ก่อนหน้านี้ ถ่าย2-3 ครั้ง/วัน อาจเหลือเพียงวันละครั้ง –อาจตกใจเข้าใจว่าท้องผูก ถ้าอุจจาระอ่อนตัว ไม่เป็นก้อนแข็ง –ไม่ต้องกังวล
หากอุจจาระเป็นก้อนแข็ง ทุกครั้งที่ทารกถ่ายจะร้องไห้เสียงดังหรือมีเลือดปน -ท้องผูก
การดูแล
ให้น้าผลไม้ประมาณ 20 มล. (น้าผลไม้คั้นผสมน้าต้มสุกเท่าตัว) –ถ้าไม่ได้ผลต้องสวนทวาร แต่ถ้าท้องผูกเกิน 3 วัน ท้องอืดโต -พบแพทย์
เยื่อบุนัยน์ตาอักเสบ(Conjunctivitis)
เป็นการถ่ายเหลวหรือเป็นน้ำบ่อยครั้งกว่าปกติ
อาจเกิดจาก การกินอาหารบางอย่างที่ร่างกายย่อยไม่ไหวหรือมีกากอาหารเกินกว่าทีเคยกิน
ความสะอาดของขวดนม
ถ้าท้องเสียนาน 6 ชม. มีเลือดปน หรือมีภาวะขาดน้ำ -พบแพทย์
ฝีจากวัคซีนวัณโรค (BCG abscess)
ทารกแรกเกิดได้รับทุกคน
ฝีเล็กๆและแห้ง –ไม่ต้องรักษาใดๆ
บางคนฝีขนาดใหญ่ แตกและมีหนองไหล ดูแลโดยเช็ดแผลด้วยสาลีชุบน้ำต้มสุก และเช็ดรอบแผลด้วย 70% alcoholวันละหลายๆครั้ง จนกว่าแผลจะแห้ง
ผื่นผ้าอ้อม (Diaper rash)
การอักเสบของผิวหนังจากการระคายเคืองของสิ่งที่มาสัมผัส
ความสกปรก เปียกชื้น จากอุจจาระ+ปัสสาวะ ที่หมักหมม
อาจจากการแพ้สบู่หรือผงซักฟอกที่ใช้ซักผ้าอ้อม
มักเป็นผื่นและเม็ดตุ่มพองขนาดเล็ก/ใหญ่
การป้องกัน
: - ผิวหนังใต้ผ้าอ้อมควรดูแลให้แห้งและสะอาด
-อย่าปล่อยให้แช่ อุจจาระ+ปัสสาวะ
-เปลี่ยนผ้าอ้อม+ล้างให้สะอาด+เช็ดให้แห้ง
-หลีกเลี่ยงการใช้ผ้าอ้อมทั้งวัน
การรักษา
: -ทาผื่นด้วยขี้ผึ้ง 1% hydrocortisone ทุกครั้งที่เปลี่ยนผ้าอ้อม จนกว่าผื่นจะหาย
-ให้ทารกไม่นุ่งผ้าอ้อมบ้าง
-งดสวมผ้าอ้อมสาเร็จรูปจนกว่าผื่นจะหาย
-หากพบผื่นนานเกิน 2 วัน หรือสงสัยว่าเกิดจากเชื้อรา (ร่วมกับลิ้นเป็นฝ้า)-พบแพทย์
ชันตุ (Cradle cap))
มักพบบ่อย มีลักษณะเป็นสะเก็ดดาๆ น้ำตาลๆ หรือเหลืองๆบนบริเวณกลางกระหม่อมของทารก-สกปรก ไม่สุขสบาย ติดเชื้อได้
ควรดูแลสระผมทารกอย่างน้อยสัปดาห์สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ถ้าเป็นแล้วใช้น้ำมันมะกอกหรือน้ำมันทาตัวสำหรับทารก (baby oil)ทาทิ้งไว้ 12-24ชม.แล้วหวีออก สุดท้ายสระผมด้วยแชมพู/สบู่เด็กล้างออกให้สะอาด และทาบ่อยครั้งจนกว่าจะหาย
ถ้าชันตุขยายกว้างขึ้น -พบแพทย์
บทบาทของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ
การดูแลทางด้านร่างกาย
-ทางเดินหายใจ
-การควบคุมอุณหภูมิ
-การป้องกันการติดเชื้อ/การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
-ป้องกันภาวะเลือดออก-ดูแลให้ได้รับสารอาหาร
-สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ เช่น การติดเชื้อ ผื่น
การดูแลด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม
-ส่งเสริม Bonding & Attachment ระหว่างบิดา มารดา ละทารกให้เร็วที่สุด
-ตอบสนองด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม
-สัมผัสด้วยความนุ่มนวล เบามือ การหยอกล้อ พูดคุยด้วยเสียงที่นุ่มนวล
-การดูแลด้านพัฒนาการ
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมการให้อาหาร
แรกเกิด – 6 เดือน ต้องการพลังงาน 115 Kcal/Kg/Day
ความต้องการน้า คือ 100 cc/100 cal
การได้รับโปรตีนมากเกินไป มีผลต่อไต ในการขับของเสีย เสี่ยงต่อการมีแอมโมเนียในเลือดสูงและขาดน้ำ
อาหารที่เหมาะ คือ นมมารดา
อายุ 2 สัปดาห์ ให้ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ต่อมา ให้ทุก 3 - 4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน
ให้ทุก 5 - 7 ชั่วโมงในเวลากลางคืน
การส่งเสริมการนอนหลับ
การนอนมี 2 แบบ
การนอนแบบ Non Rapid Eye Movement – การนอนในช่วงนี้สาคัญมาก – ทำให้ภูมิคุ้มกันแข็งแรง ระบบการย่อยอาหารดี Growth H.
การนอนแบบ Rapid Eye Movement (REM) –เกิดภายใน 90 นาที หลังจากนอน ช่วงนี้เมื่อทดสอบคลื่นสมองจะเหมือนคนตื่นเรียกว่า Active sleep โดยหายใจเร็ว ชีพจรเร็ว กล้ามเนื้อไม่ขยับ
อวัยวะเพศแข็งตัว –ตื่นช่วงนี้จาความฝันได้และปลุกตื่นง่าย
ปัญหาการนอน
นอนหลับไม่สนิทตลอดคืน/ไม่นอนตอนกลางคืน
ส่งเสริม
เล่นกับเด็กในตอนกลางวัน
ลดการให้นมในตอนกลางคืน
ให้ความมั่นใจ มั่นคง
สร้างบรรยากาศให้อบอุ่นในการนอน
การส่งเสริมการขับถ่าย
ขับถ่ายไม่เป็นเวลา ควบคุมไม่ได้
เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนกลับ – ขับถ่ายอุจจาระหลังได้รับนม
ถ่ายปัสสาวะวันละ 6 –10 ครั้ง
ต้องดูแลทาความสะอาดภายหลังการขับถ่ายอุจจาระ+ปัสสาวะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
การส่งเสริมสุขวิทยาทั่วไป
อาบน้าวันละ 2 ครั้ง สระผม 1-2 วัน/ครั้ง –สภาพอากาศ
สะดือ –สำคัญมาก ถ้ายังไม่หลุดเป็นแหล่งเพาะเชื้อ ติดเชื้อในกระแสเลือดได้
ช่องปากและฟัน เช็ดช่องปาก เหงือก กระพุ้งแก้ม และลิ้น เป็นประจำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ด้วยน้าต้มสุกที่เย็นแล้วบิดหมาดๆ
การส่งเสริมสัมพันธภาพบิดา มารดา และทารก
ต้องสร้าง Bonding & Attachment เพื่อความมั่นคง ปลอดภัย
สัมผัสนุ่มนวล ประสานสายตา
กลิ่น เสียง การเคลื่อนไหวของบิดามารดาที่นุ่มนวล
ความอบอุ่นใกล้ชิด
ส่งเสริมการเล่น
แรกเกิด –1 ปี : การเล่นใช้ประสาทสัมผัส
การสารวจและทาพฤติกรรมซ้าๆ ในระยะแรก
อยู่ในขอบเขตที่จากัด –มอง ฟัง ทามือเคลื่อนไหวไปมาส่งเสียง จากนั้นเริ่มเล่นวัตถุ สิ่งของ
ของเล่นควรกระตุ้นการได้ยินและการเคลื่อนไหว
การส่งเสริมพัฒนาการ
พัฒนาการจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ส่งเสริม
เลือกของเล่นให้เหมาะสม
การมองเห็น สายตา
การได้ยิน รับรู้เสียงต่างๆ
ประสาทสัมผัส กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก
การส่งเสริมความปลอดภัย
ทารกควรได้รับการดูแลเรื่องความปลอดภัยตามระยะพัฒนาการ
ธรรมชาติของทารก
กินอาหารได้ดี เจริญเติบโตรวดเร็ว เปลี่ยนแปลงพัฒนาการเร็ว
สื่อสารได้จากัด
ปรับสภาพการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกมาก
พึ่งพาผู้เลี้ยงดูสูง
ตนเองเป็นศูนย์กลาง
มีความต้านทานต่า ติดเชื้อง่าย
การทากิจกรรมยังไม่สม่าเสมอ
ปัจจัย
ที่มีผลต่อการเจริญเติบโ
พันธุกรรม
การได้รับอาหาร
ฮอร์โมน
Growth H. – metabolism ขาดจะแคระ
Thyroid H. – มีผลต่อการออกฤทธิ์ Growth H.
Insulin -- มีผลต่อการออกฤทธิ์ Growth H.
Cortisol – ช่วยให้ Hormone อื่นๆออกฤทธิ์
Sex H. -- กระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูก
วัยเดินหรือวัยเตาะแตะ (อายุ 1 –3 ปี)
ธรรมชาติของทารก
อัตราการเจริญเติบโตลดลงกว่าวัยทารก
Self –center
อยากเป็นตัวของตัวเอง วัยต่อต้าน(Negativistic period)นอกมาก
หัดเดิน หัดพูด เริ่มมีอารมณ์(สนุก อยากรู้อยากเห็น กลัว โกรธ อิจฉา)
เริ่มออกนอกบ้าน เล่นกับเพื่อน เรียนรู้สังคม (นักสำรวจ)
เลียนแบบ
เด็กส่วนหนึ่งไป Day care
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
พัฒนาการด้านร่างกาย
อัตราการเจริญเติบโตลดลงอย่างเห็นได้ชัด
การรับประทานอาหารไม่หิวบ่อยและไม่เจริญอาหาร เริ่มมีความรู้สึกชอบและไม่ชอบอาหาร
การนอนหลับ ไม่ยอมนอน --จะแสดงอาการงอแง ดื้อดึงหรือต่อรองให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งก่อนถึงจะยอมนอน
การขับถ่ายเริ่มสามารถควบคุมการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะได้
พัฒนาการทางอารมณ์
มีอารมณ์หงุดหงิดง่ายกว่าวัยทารก โกรธง่าย ดื้อรั้น เอาแต่ใจตัวเอง เจ้าอารมณ์ --พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กจะมั่นคงเพียงใด ขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูเป็นสาคัญ
พัฒนาการทางสังคม
เริ่มแสวงหาเพื่อน แต่การคบเพื่อนร่วมวัยยังไม่ราบรื่นดีนัก
ยังไม่มีประสบการณ์การเข้าสังคม
ไม่รู้จักการรอมชอม
ยังไม่รู้จักการให้และการรับ
พัฒนาการทางความคิด
บอกความเหมือนความต่างของสิ่งต่างๆได้
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์กล้าแสดงออก
ไม่คล้อยตามผู้อื่นง่ายๆ
ชอบสัมผัสกับสิ่งเร้าใหม่ๆ
พัฒนาการทางภาษา
อยู่ในขั้นเห็นความหมายของเสียงที่เด็กเลียนแบบ(True speech)
ยังไม่เข้าใจถึงความหมายที่แท้จริงและความหมายที่ถูกต้อง
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
การพัฒนาความเป็นตัวเอง
ผู้ดูแลเปิดโอกาสและส่งเสริมให้เด็กช่วยเหลือตนเองให้คาชี้แนะแต่พอควร
ให้อิสระเด็กในการทากิจกรรมที่เด็กมีศักยภาพที่จะทาได้
สอนและฝึกหัดอย่างมีเหตุผล
ผู้ดูแลควรเรียนรู้ธรรมชาติของเด็กและตอบสนองอย่างเหมาะสม
การที่เด็กสามารถแสดงความเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเองและเพิ่มพูนความสามารถที่จะควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อมได้มากขึ้น
การเป็นนักสารวจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เด็กเกิดการอยากรู้อยากเห็น
เปิดโอกาสให้เด็กได้ศึกษาและทดลองด้วยตนเอง
ควรใช้คาว่า“ต้อง” ให้น้อยที่สุดหรือหลีกเลี่ยงคาว่า“อย่า”
การพัฒนาทางภาษา
ผู้ดูแลไม่ควรเร่งรัดเด็กเพราะจะเป็นสาเหตุให้เด็กติดอ่างและหมดความเชื่อมั่นในตนเอง
เปล่งสาเนียงไม่ชัดเจนให้ช่วยแก้ไขโดยสอนสาเนียงที่ชัดเจน
ถ้าเด็กพูดไม่ชัดไม่ควรพูดตามเด็ก
สอนการใช้คาต่างๆในชีวิตประจาวัน
กระตุ้นให้เด็กดูหนังสือภาพที่มีสีสันต่างๆ
การบอกให้เด็กพูดซ้าในคาพูดของผู้ดูแล
4.การพัฒนาการเล่น
วัย 1-2 ขวบ
ฝึกคิดการจาการสังเกตและการเปรียบเทียบ ดยการเล่นภาพตัดต่อและอาจเล่านิทานประกอบรูปภาพ
วัย 2-3 ขวบ
พัฒนาการการทรงตัวดีขึ้น ชอบกระโดดโลดเต้น ปีนป่าย เล่นผาดโผน
ประโยชน์ของการเล่น
เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐานสำคัญ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตและกระตุ้นพัฒนาการทางร่างกาย
ส่งเสริมการมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
เรียนรู้การตัดสินใจ
เรียนรู้ทักษะทางสังคมการอยู่ร่วมกับผู้อื่นการอดทนการรอคอยและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ
เพิ่มความว่องไวคล่องตัว
บอกเกี่ยวกับพัฒนาการด้านต่างๆว่าช้าหรือเร็ว
ฝึกสมาธิให้จดจ่ออยู่กับสิ่งที่กาลังทำได้
ขยายขอบเขตความอยากรู้อยากเห็นและความสามารถในการแก้ปัญหา
เล่นเพื่อสังคม
เล่นเพื่อพัฒนาสติปัญญา
ของเล่นที่เหมาะสม
ของลากจูง เช่น รถ เรือ รถไฟ มีเชือกร้อยให้เด็กเล่นลากจูง
ตุ๊กตายางตุ๊กตาสัตว์หรือของเล่นที่มีเสียง
ชิงช้าไม้กระดก
บันไดสาหรับปีนและกระดานลื่น
เครื่องเล่นสาหรับเล่นทรายเล่นน้ำ
การอ่านและการเล่านิทาน
ประโยชน์
ช่วยให้เพลิดเพลิน
พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
ความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา
พัฒนาทักษะภาษา และการฟัง
การจับประเด็นเรื่องราว
บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการเล่น
ให้คำแนะนำ
การจัดสิ่งแวดล้อม อุปกรณ์ ของเล่น
ห้คาแนะนาการเล่นแก่เด็ก
จัดการเล่นและของเล่นที่เหมาะสมกับเด็ก
ไม่จัดอุปกรณ์ของเล่นที่มีมากชิ้นเกินไป
ม่ควรคาดหวังว่าเด็กจะต้องเล่นได้ดี
การเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าเรียนในระดับอนุบาล
เลือกโรงเรียนที่มีความเหมาะสม
พาเด็กไปดูสถาน
พยายามทำให้เป็นประสบการณ์ที่มีความสุข
บอกให้เด็กรู้ว่าในระหว่างที่ผู้ดูแลกลับนี้จะไปทำอะไรและจะกลับมารับเด็กตอนไหน
การดูแลได้รับอาหาร
พัฒนาความชอบ-ไม่ชอบอาหาร
สร้างบรรยากาศในการกิน
ให้นั่งกินร่วมกับสมาชิกในครอบครัว(ไม่เดินกิน นั่งรถกิน)
ให้เด็กหยิบจับอาหารกินเอง
สุขภาพ
เน้นการรับภูมิคุ้มกันโรค
ความปลอดภัย
ระวังการปีนป่าย ตกจากที่สูง การเล่นนอกบ้าน ระวังอันตรายจากสิ่งแปลกปลอม ยา
การนอน
การต้องการนอน1-2 ปี12-14 ชม./วันนอนกลางวัน1-2 ช่วง(2-3ชม.)
การต้องการนอน2-3 ปี9-13 ชม./วันนอนกลางวัน1-2 ช่วง(1-3ชม.)
เข้านอนเป็นเวลา
สร้างบรรยากาศ ให้รู้สึกผ่อนคลาย
เวลาหลับหลีกเลี่ยงการรบกวนการนอน
ประโยชน์
ช่วยในการเก็บพลังงานไม่ให้สูญเสียไป และจำกัดความต้องการใช้พลังงาน
ลดความกดดันจากสภาพแวดล้อม
มีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ที่ดี
ช่วยสร้างเสริมความต้านทานต่อเชื้อโรคของร่างกาย
ปัญหาการนอน
นอนหลับยาก
ไม่ยอมเข้านอน ตื่นนอนในเวลากลางคืน เพ้อ(sleep terror) ละเมอเดิน(sleep walking) ฝันร้าย(nightmare)
สาเหตุ
การแยกจาก กระวนกระวายตื่นเต้นวิตกกังวลไม่มีระเบียบกลัวติดของ
แนวทางการแก้ไข
ให้ความอบอุ่นมั่นคง
สร้างบรรยากาศเตรียมตัวนอน เล่านิทาน สร้างความสุข จินตนาการ
หาสาเหตุที่เป็นความเครียดฝันร้ายกลัวและหลีกเลี่ยง
รับฟัง ปลอบโยนด้วยความเข้าใจ
การตรวจสุขภาพการรับภูมิคุ้มกันโรคและสุขภาพฟัน
ส่งเสริมสุขภาพWell Child Clinic
ส่งเสริมสุขภาพฟัน:
สุขวิทยาช่องปาก -แปรงฟัน
ฝึกนิสัยการกิน ให้เคี้ยวกัด กินอาหารแข็ง รสไม่หวาน
เลิกนมขวด ให้ฟลูออไรด์(มีในน้ายาสีฟัน)
ตรวจสุขภาพฟันทุก 6 เดือน
การป้องกันอุบัติเหตุ
เริ่มเดิน วิ่ง พลัดตก จมน้ำ : ดูแลใกล้ชิด
ไฟไหม้น้าร้อนลวก : สอนให้รู้ว่าร้อน
สารพิษ : แยกเก็บในภาชนะที่แตกต่าง
สาลัก หยิบสิ่งแปลกปลอมเข้าปาก
ปัญหาที่พบบ่อยในเด็กวัยเดินและแนวทางการแก้ไข
-
การฝึกการขับถ่าย(Toilet training)
ส่วนใหญ่แนะนำว่าเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการฝึกการขับถ่ายคือ 18 –24 เดือน ประเมินความพร้อมของเด็กก่อน
สามารถเดินวิ่งและนั่งกระโถนได้ดี
สามารถแสดงสีหน้าท่าทางหรือพูดบอกถึงความต้องการขับถ่ายให้ทราบได้
เข้าใจการขอร้องให้กลั้นการขับถ่ายจนกว่าจะถึงเวลาและสถานที่อันควร
ฝึกให้เป็นเวลาสร้างบรรยากาศให้มีความสุข
ข้อควรระวัง–ไม่ขู่บังคับ
-
ฝึกควบคุมอารมณ์
ต้องฝึกควบคุมอารมณ์เพราะเป็นวัยเจ้าอารมณ์(Temper tantrums)
แนวทางในการดูแล
-สร้างความมีเหตุผล ใจเย็นในการอธิบาย
สร้างการรอคอย
เบี่ยงเบนอารณ์
-
การปฏิเสธ/ต่อต้าน(Negativism)
เป็นธรรมชาติของเด็กวัยเดิน เพราะเด็กอยากเป็นตัวของตัวเองอยากแสดงความสามารถ
แนวทางในการดูแล
-ต้องเข้าใจ ให้แสดงความสามารถ ให้คำชมเชยไม่บังคับต่อต้าน
-
การอิจฉาน้อง(Sibling rivalry)
เด็กวัยนี้ที่มักคิดว่าตนเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่าง เมื่อมีน้อง เด็กจะรู้สึกถึงการแข่งขัน ถูกแบ่งปันความรักหรือถูกทอดทิ้งจากบิดามารดา
แนวทางในการดูแล
-มีส่วนร่วมในการเลี้ยงน้อง
-สร้างให้เกิดความรักน้องตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์น้อง
-ให้ความรักเอาใจใส่เช่นเดิม
-ไม่ลำเอียง
-เน้นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างพี่น้องให้ดี
-
การดูดนิ้ว(Thumb sucking)
เด็กจะได้รับความพึงพอใจจากการดูดนิ้วหัวแม่มือ คือ จะทำให้เด็กคลายกังวล ทำให้เคลิ้มและมีความสุข
แนวทางในการดูแล
-ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ว่างๆ
-จัดหาสถานที่และของเล่นที่น่าสนใจให้แก่เด็กได้เล่น
-ไม่ดุว่าหรือห้ามปรามเด็ก
-ดูแลความสะอาดของนิ้ว
-
ความวิตกกังวลจากการพรากจาก(Separation anxiety)
เด็กจะรู้สึกไม่ปลอดภัย ปั่นป่วน ว้าวุ่นใจ พฤติกรรมที่แสดงออก คือ ร้องไห้อย่างรุนแรงปานจะขาดใจ ไขว่คว้าบิดามารดา เป็นต้น
แนวทางในการดูแล
-บอกเด็กเมื่อคุณจะพรากจากเขา ไม่ควรหลบจะทาให้เด็กไม่ไว้วางใจ
-ให้บรรยากาศสบายๆพูดกับเด็กด้วยท่าทีสงบราบเรียบ
-ใช้วัตถุเป็นสัญลักษณ์ของบิดามารดา
-ให้เวลาและเข้าใจเด็ก