Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
100 ปีแห่งการปฏิรูประบบราชการ วิวัฒนาการของอำนาจรัฐและอำนาจทางการเมือง -…
100 ปีแห่งการปฏิรูประบบราชการ วิวัฒนาการของอำนาจรัฐและอำนาจทางการเมือง
บทที่ 1
แนวคิดในการศึกษาอำนาจรัฐและอำนาจทางการเมือง
โครงสร่างทางด้านการเมืองและการบริหารที่มีการปรับตัวน้อยมาก
การเลือกนโยบายปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
สกรรมรัฐ
การปรับเปลี่ยน "เหตุผลของรัฐ"
การปรับเปลี่ยน กลไกด้านการใช้กำลังบังคับและด้านการกล่อมเกลาทางสังคม
การผนึกกำลังระหว่างกลไกของรัฐ
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
กรอบและวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์
ระบบราชการ
สภาพของระบบราชการ
ปัจจัยกระตุ้น
ช่องว่าง
ตัวแปลในการวิเคราะห์ระบบราชการ
องค์กร
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้างองค์กร
หน้าที่
การจัดการทรัพยากร
การใช้ทรัพยากร
การปฎิบัติงาน
การได้มาซึึ่งทรัพยากร
ความสัมพันธ์ระหว่างบริบทกับระบบราชการ
บทที่ 2
กลไกรัฐใหม่ในระบอบการเมืองเก่า
รัชกาลที่6
ลด
อำนาจพระบรมวงศานุวงษ์
สงเสริม
อำนาจขุนนางมากขึ้น
กลไกใหม่
จัดองค์กรของรัฐตามแบบตะวันตก
เน้นความสำคัญของหน่วยงานมากกว่าบุคคล
อำนาจภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
เด็ดขาดรวมศูนย์กลางการตัดสินใจสูงสุดที่องค์พระมหากษัตริย์
ก่อนรัชกาลที่ 5
แบ่งอำนาจกัน
พระมหากษัตริย์
พระบรมวงศานุวงษ์
ขุนนาง
หลังอสัญกรรม
สมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์
กลไกใหม่ในระบอบการเมืองใหม่
สมัยรัชกาลที่ 5
ความพยายามในการปรับตัว
การปฏิรูปการปกครอง
เป็นการนำกลไกใหม่ของตะวันตกมาใช้ต่อสู้กับกลไกเก่าของระบบเก่า
บทที่ 4
จากอำนาจทางการเมืองสู่อำนาจทางการบริหาร
20 ตุลาคม 2501
ปฏิวัติ
ยกเลิกรัฐธรรมนูญ
ยุบเลิกพรรคการเมือง
ยุบสภาผู้แทนราษาฎร
2475-2501
ไม่มีความพยายามสร้างระบบ
รวมศูนย์อำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง
พพยายามที่จะแบ่งเบาภาระของส่วนกลางไปยังภูมิภาคท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง
สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยระเบียบการบริหาร 2476- 2535
พระราชบัญญัติว่าด้วยธรรมนูญราชการฝ่ายพลเรือนพุทธศักราช 2476
พระราชบัญญัติว่าด้วยระ้บียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2476
พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2476 (แก้ไขเพิ่มเติม 2477)
พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม
(ฉบับที่ 3)พุทธศักราช 2484
พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2487
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495
ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 57 (27 มกราคม 2502)
พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2505
ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 218(29 กันยายน 2515)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
บทที่ 6
สู่ศตวรรษที่21 การปรับเปลี่ยนที่จำเป็นของเอกรัฐในพหุสังคม
วิเคราะห์์ลักษณะและความสัมพันะ์ระหว่างอำนาจรัฐกับอำนาจทางการเมือง
พิจารณาลักษณะของอำนาจรัฐและกลไกรัฐ
กลไกใหม่ในระบอบการเมืองแบบเก่า
อำนาจเจ้ากระทรวง
กลไกทางการเมืองและการบริหาร
การประสานอำนาจทางการเมืองกับอำนาจรัฐราชการ
การจัดการความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างอำนาจทางการเมือง
อำนาจทางการเมือง
การแก้ปัญหาการประสานอำนาจการเมือง
ราชการ
ราชการทางการเมือง
ราชการประจำ
บทที่ 3
กลไกรัฐเก่าในระบอบการเมืองแบบใหม่
สิ่งที่เป็นเรื่องใหม่สำหรับระบบราชการ
คณะราษฎรเปลี่ยนแปลงการปกครอง
การสถาปนาอำนาจทางการเมืองในรัฐเก่า
ระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
จุดเปลี่ยนที่สำคัญด้านนโยบายที่มีผลโดยตรงต่อกลไกของรัฐ
การปรับเปลี่ยนกลไกของรัฐด้านเศรษฐกิจ
การปรับกลไกของรัฐใน พ.ส.2485
การปรับปรุงกระทรวง ทบวง กลม ในปี พ.ส.2485
การแบ่งการเมืองกับการบริหาร
การกำหนดการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
สำนักนายกรัฐมนตรี
ทบวงคณะรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
ทบวงคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร
กระทรวงหรือทบวง
ทบวงการเมืองที่มีลักษณะเทียบกรม
หลังงจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 อำนาจทางการเมืองคือ อำนาจอันเกิดจากรัฐธรรมนูญ จัดเป็นอำนาจทางการเมืองใหม่
การโอนอำนาจการควบคุมท้องที่
องค์กรที่มีลักษณะทางการเมืองสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ความสำคํญของกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 5
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กับการปรับตัวของกลไกอำนาจรัฐ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ฉบับที่ 3 (2515 - 2519) และ ฉบับที่ 4 (2520 - 2524)
เกิดปัญหาความมั่นคง
ปัญหาดุลการชำระเงิน
ปัญหาความยากจนในชนบท
เปิดความเปลี่ยนแปลงในระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
มีการขยายระบบราชการในระดับกลางและส่วนภูมิภาค
ฉบับที่ 2 (2510 - 2514)
มีการทุ่มเทให้กับการสร้างทางหลวง ระบบชลประทานและการพลีงงาน
เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมจากสมัยเดิมเป็นสมัยใหม่
มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ
มีการขยายตัวของกรุงเทพฯ และบริเวณรอบนอก
การคมนาคมขยายตัว
ฉบับที่ 5 (2525 - 2529)
พัฒนาระบบบริหารราชการสองขั้ว
ระบบวางแผน
กรม กอง ต่างๆ เป็นฝ่ายปฏิบัติการ
ระบบบริหารการพัฒนา
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและหน่วยงานกลางด้านนโยบายต่างๆ เป็นแกน
ขาดการประสานบริหารนโยบาย
เกิดจากการขาดแหล่งที่มาของนโยบาย
มีการกำหนดนโยบาย-พัฒนานโยบายขึ้นเองในหมู่กรม กระทรวงต่างๆ
ขาดกลไกที่เชื่อมโยงกันของนโยบาย
ฉบับที่ 1 (2504 - 2509)
เปลี่ยนจากสภาที่ปรึกษาเป็นหน่วยงานกลาง
เกิดขึ้นสมัยที่ปลอดจากการเลือกตั้งเป็นเวลาถึง 11 ปี (2501 - 2511)
การดำเนิการและรองรับการพัฒนาขาดมิติทางการเมือง
อำนาจทางการเมืองถูกรวทศูนย์ไว้ที่ตัวบุคคล
ระบบคณะรัฐมนตรีมีความอ่อนแอ
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสำคัญ(14 ตุลาคม 2516)
เกิดความตื่นตัวด้านประชาธิปไตยของประชาชน
เกิดจากสภาวะเศรษฐกิจ และการว่างงาน
มีความผันผวนเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างมากระหว่างปี พ.ศ. 2512 - 2524
ส่งผลให้นโยบายขาดความเชื่อมโยง
มีรัฐธรรมนูญถึง 6 ฉบับ
พ.ศ.2511 พ.ศ.2515 พ.ศ.2517 พ.ศ.2519 พ.ศ.2520 พ.ศ.2521
มีรัฐบาล 15 ชุด
รัฐบาลอยู่ในตำแหน่งเฉลี่ย 9.6 เดือน
ต้นปี พ.ศ.2523
มีการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
มีการรวมตัวของกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่
กลุ่มธุรกิจสามารถใช้อำนาจต่อรองกับรัฐบาล
กลุ่มธุรกิจสามารถครอบงำการดำเนินการนโยบายของรัฐบาล
นักธุรกิจเข้ามามีบทบาทในคณะรัฐมนตรี
นักธุรกิจระดับผู้นำของพรรคเข้ามามีบทบาทในคณะรัฐมนตรี
เกิดความขัดแย้งภายในรัฐบาล
นโยบายไม่สอดคล้อง ประสานงานกัน
การจัดตั้ง กสศ. และ รศก.
คณะกรรมการกำกับนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติ (กนศ.)
คณะกรรมการรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ (รศก.)