Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographic Design Principle) - Coggle Diagram
หลักการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographic Design Principle)
การเตรียมข้อมูลในการออกแบบของอินโฟกราฟิกส์
2.บันทึกและกลั่นกรองความคิด
3.คัดแยก จัดเรียงข้อมูลตามหมวดหมู่โดยใช้หลักการตั้งคำถาม ใคร ทำอะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน เพราะอะไรและอย่างไร เมื่อคัดแยกและจัดเตรียมข้อมูลตามหมวดหมู่ครอบคลุมทุกประเด็นแล้ว
1.การศึกษาค้นคว้าข้อมูลในประเด็นที่สนใจ
4.ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอีกครั้ง เมื่อได้ข้อมูลถูกต้องครบทุกช่วงและตั้งชื่ออินโฟกราฟิกส์ให้น่าสนใจ
การร่างภาพและการจัดวาง Layout
หลักการจัดวางอินโฟกราฟิกมีวัตถุประสงค์เพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการออกแบบการจัดวางต้องคำนึงถึงหลักจิตวิทยาของผู้อ่าน หรือการรับสารของผู้รับ ซึ่งรูปแบบที่นิยมนำมาสื่อสาร ได้แก่
7.การใช้พื้นผิว
5.การจัดกลุ่มเนื้อหาให้เป็นระเบียบอ่านง่ายด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น การใช้สี
1.การเรียงเนื้อหาจากบนลงล่าง
8.การใช้พื้นที่ว่าง
6.การใช้รูปทรง
3.การเรียงเนื้อหาด้วยการเน้นขนาด
2.การเรียงเนื้อหาจากซ้ายไปขวา
4.การเรียงเนื้อหาด้วยการเน้นสี
รูปแบบการตั้งชื่อเรื่องอินโฟกราฟิกส์ให้น่าสนใจนั้นมีหลายรูปแบบ เช่น
2.ใช้คำถามเพื่อนำไปสู่คำตอบ
6.การใช้คำสร้างแรงบันดาลใจ
9.การบอกแนวทางไปสู่ความสำเร็จ
4.การใช้คำที่ส่งผลต่ออารมณ์
3.การบอกสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน
5.การบอกสิ่งที่ควรทำไม่ควรทำ
1.ใช้ตัวเลขนำ เพื่ออธิบายเนื้อหาตามหัวข้อ
8.การแสดงความเอาใจใส่
7.การบอกสิ่งที่เป็นผลร้าย
การใช้สีในการออกแบบอินโฟกราฟิก
1.การเน้นจุดเด่นด้วยสีวรรณะตรงข้าม เช่น ใช้สีตรงข้ามในอัตราส่วน 80:20, 70:30 เพื่อนำเสนอจุดเด่นชัดขึ้น
5.การแบ่งสัดส่วนสี ควรแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
2.)สีส่วนรองใช้ส่วนหัวข้อหรือเนื้อหาส่วนรองลงมาคิดเป็น 30 เปอร์เซ็นต์
3.)สีส่วนเน้นใช้สีที่โดดเด่นจากสีส่วนอื่นๆ คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์
1.)สีพื้นควรใช้สีที่เข้ากันได้กับทุกสี คิดเป็น 60 เปอร์เซ็นต์
3.หลักการใช้สีตัวอักษรกับพื้นหลัง เช่น ใช้ตัวอักษรสีเข้มบนพื้นสีอ่อนหรือใช้ตัวอักษรสีอ่อนบนพื้นสีเข้ม จะทำให้การนำเสนอเนื้อหาเด่นชัดขึ้น
4.หลักการใช้สี 3 สี การออกแบบอินโฟกราฟิกไม่ควรใช้สีเกิน 3 สี โดยแต่ละสีสามารถเพิ่มระดับความเข้มอ่อน
2.หลักการสื่ออารมณ์ด้วยสีวรรณะร้อนและสีวรรณะย็น
สีวรรณะเย็นประกอบด้วย สีเขียว-เหลือง, สีเขียว, สีเขียว-น้ำเงิน, สีน้ำเงินและสีม่วงน้ำเงิน
สีวรรณะเย็นให้ความรู้สึก สุภาพ สงบ ลึกลับ เงียบเย็น
สีวรรณะร้อนประกอบด้วย สีส้ม-เหลือง, สีส้ม-แดง, สีแดง, สีแดง-สีม่วงแดง
สีวรรณะร้อนให้ความรู้สึกตื่นตา มีพลัง อบอุ่น สนุกสนานและดึงดูโความสนใจ
6.การใช้เว็ปไซต์ช่วยเลือกสี สำหรับการออกแบบ เช่น
http://color.adubr.com
สามารถเลือกใช้กลุ่มสีในวงจรสีตามหลักทฤษฏีการใช้สีได้ เช่น การใช้สีข้างเคียง การ ใช้สีเอกรงค์ การใช้สีตรงกันข้ามเป็นต้น