Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง - Coggle Diagram
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่าง (sample)
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
ประเภทของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น
( Probability sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยสามารถกาหนดโอกาสที่หน่วยตัวอย่าง
แต่ละหน่วยถูกเลือกทาให้ทราบความน่าจะเป็นที่
แต่ละหน่วยในประชากรจะถูกเลือก การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้
สามารถนำผลที่ได้อ้างอิงไปยังประชากรได้
เป็นการสุ่มหน่วยตัวอย่างจากประชากร
โดยมีเงื่อนไขดังนี้
ประชากรทั้งหมดมีโอกาส
ที่จะถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกัน
ใช้วิธีการสุ่มที่เหมาะสม
เพื่อให้หน่วยตัวอย่างมีโอกาสถูกสุ่มเท่าเทียมกัน
รู้จำนวนประชากรทั้งหมด
ใช้วิธีประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม
การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Random Sampling)
การสุ่มจะแบ่งประชากรออกเป็นช่วงๆ ที่เท่ากัน
อาจใช้ช่วงจากสัดส่วนของขนนาดกลุ่มตัวอย่าง
และประชากร แล้วสุ่มประชากรหน่วยแรก
ส่วนหน่วยต่อๆ ไปนับจากช่วงสัดส่วนที่คำนวณไว้
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยมีรายชื่อของทุกหน่วยประชากร
มาเรียงเป็นระบบตามบัญชีเรียกชื่อ
รายชื่อนักศึกษาเรียงตามรหัส
เลขที่บ้าน หมายเลขโทรศัพท์
การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ(Stratified Random sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแยกประชากรออกเป็นกลุ่มประชากรย่อย
หรือแบ่งเป็นชั้นภูมิก่อน โดยหน่วยประชากรในแต่ละชั้นภูมิจะมีลักษณะเหมือนกัน(homogenious homogenious homogenious )
แต่ระหว่างชั้นจะแตกต่างกันมากที่สุด
แล้วสุ่มอย่างง่ายหน่วยตัวอย่างจากทุกระดับชั้น
ข้อดี : คือวิธีนี้ช่วยควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
ข้อเสีย : คือการแบ่งประชากรเป็นประชากรย่อย
อาจปฏิบัติได้ยากขาดขอบเขตที่ชัดเจน
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster Random Sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแบ่งประชากรออกตามพื้นที่โดย
ไม่จำเป็นต้องทำบัญชีรายชื่อของประชากร
สุ่มตัวอย่างประชากรจากพื้นที่ดังกล่าวตามจานวนที่ต้องการ
แล้วศึกษาทุกหน่วยประชากรในกลุ่มพื้นที่นั้น
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multistage Stage sampling)
การสุ่มแบบนี้ทำได้โดยแบ่งประชากร
ออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ
แล้วแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ลงไปเรื่อย ๆ
เป็นการสุ่มตัวอย่างที่มีจำนวนประชากรมาก
และผู้วิจัยไม่รู้ขอบข่ายแน่นอนของประชากร
1.การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย(Simple random sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยถือว่าทุกหน่วย
หรือทุกสมาชิกในประชากรมีโอกาสจะถูกเลือกเท่าๆ กัน
วิธีจับฉลาก
วิธีใช้ตารางตัวเลขสุ่ม
จุดเด่น : ของการสุ่มแบบง่ายคือวิธีการไม่สลับซับซ้อน ง่าย
ข้อเสีย : คือต้องมีบัญชีรายชื่อสมาชิกทุกหน่วยของประชากร
ถ้าประชากรขนาดใหญ่ใช้เวลาดาเนินการมากและมีค่าใช้จ่ายสูง
และอาจเกิดความคลาดเคลื่อนได้มาก
การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น
(Nonprobability sampling )
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง
(Purposive หรือ Judgmental Sampling)
เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะ
เป็นใครก็ได้ที่มีลักษณะตามความต้องการของผู้วิจัย
โดยอาจจะกาหนดเป็นคุณลักษณะ
เฉพาะเจาะจงลงไป
เช่น เป็นเพศหญิงที่ทำงานในธนาคาร
อายุระหว่าง 30 ถึง 40 ปี
การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า
(Quota Sampling)
เป็นการเลือกตัวอย่างโดยกำหนดคุณลักษณะ
และสัดส่วนที่ต้องการไว้ล่วงหน้า
คุณลักษณะเช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ระดับการศึกษา
การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย
(Convenience หรือ Accidental Sampling
เป็นการเลือกแบบไม่มีกฎเกณฑ์
อาศัยความสะดวกของผู้วิจัยเป็นหลัก
กลุ่มตัวอย่างจะเป็นใครก็ได้ที่ให้ความร่วมมือ
กับผู้วิจัยในการให้ข้อมูลบางอย่าง
การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่
(SnowballSampling)
เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยการแนะนำ
ของหน่วยตัวอย่างที่ได้เก็บข้อมูลไปแล้ว
ความหมาย
กระบวนการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีความเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
ความหมาย
ส่วนหนึ่งของประชากรที่นามาศึกษาซึ่งเป็นตัวแทนของประชากร
ต้องมีการเลือกตัวอย่างและขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม ซึ่งจะต้องอาศัยสถิติ
เข้ามาช่วยในการสุ่มตัวอย่างและการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรจึง
จำเป็นต้องใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเพื่อการอ้างอิงไปยังประชากรอย่างน่าเชื่อถือได้
ลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่ดี
ต้องเป็นตัวแทนที่ดี
ต้องมีลักษณะที่สาคัญของประชากรที่จะศึกษา
และเลือกออกมาโดยไม่ลำเอียง
2.มีขนาดพอเหมาะ
มีความเพียงพอที่จะอ้างสรุปไปถึงกลุ่มประชากรได้
วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การใช้ตารางสาเร็จรูป
นิยมใช้กันในงานวิจัยเชิงสำรวจ
ตารางสำเร็จของทาโร ยามาเน่
ใช้หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณค่าสัดส่วน
ของประชากรโดยคาดว่าสัดส่วนของลักษณะที่สนใจ
ในประชากร เท่ากับ 0.5และระดับความเชื่อมั่น 95%
ใช้กับประชากรที่มีขนาดเล็กได้ตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป
ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และเมอร์แกน
ใช้ในการประมาณค่าสัดส่วนของประชากรเช่นเดียวกัน
ใช้กับประชากรที่มีขนาดเล็กได้ตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป
จากการกาหนดเกณฑ์
ผู้วิจัยต้องทราบจานวนประชากรที่แน่นอน
ใช้เกณฑ์โดยกำหนดเป็นร้อยละของประชากรในการพิจารณา