Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่พบบ่อย: ระบบทางเดินอาหาร, จัดทำโดย:นางสาวณัฐริศา…
กลุ่มอาการที่พบบ่อย:
ระบบทางเดินอาหาร
1.กลุ่มอาการปวดท้อง (Abdominal Pain)
กลุ่มอาการที่พบบ่อยทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
2.เป็นอวัยวะที่เกิดขึ้นจากผนัง หน้าท้อง(Somatic pain)
3.เป็นอาการปวดในบริเวณที่นอกเหนืออวัยวะช่องท้องเป็นผล มาจากการที่มี afferent neurons (Referred pain)
1.เป็นอาการที่เกิดจากอวัยวะภายในช่อง ท้อง(Visceralpain)
การซักประวัติ
3.Onset
-sudden
-gradual
2.ระยะเวลา(duration)
Acute abdomen
Recurrent หรือ Chronic abdominal pain
4.ลักษณะและความรุนแรง เช่น dull
aching,colicky pain,biliary pain,persistent
5.ปัจจัยที่กระตุ้นหรือบรรเทาอาการปวดท้อง
6.อาการร่วมอื่นๆ
1.ตำแหน่งที่ปวด (location) ใช้บอก Anatomical diagnosis
7.ประวัติอื่นๆ
การตรวจร่างกาย (Physical examination)
Vital signs
General appearance
Abominal examination
การฟัง
การเคาะ
การดู
การคลำ
4.ตรวจทวารหนัก
5.การตรวจภายใน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Plan for diagnosis)
การส่งตรวจเฉพาะ เช่น U/S, X-ray
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การส่องกล้อง
แผนการรักษา (Plan for treatment)
ให้ยาลดอาการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ (Antispasmodic)
การได้รับสารยาทางหลอดเลือดดำ
Antacid
การรักษาตามอาการ/อาการเฉพาะ
การผ่าตัด
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการปวดท้อง
ไส้ติ่งอักเสบ
ปวดรอบสะดือท้องน้อยด้านขวา คลื่นไส้อาเจียน ไข้ต่ำๆ
เยื่อยุช่องท้องอักเสบ
ปวดรุนแรงตลอดเวลา คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด มีไข้กระสับกระส่าย /ช็อค
ถุงน้ำดีอักเสบ
ปวดรุนแรงที่ชายโครงขวาร้าวไปที่ไหล่ขวา คลื่นไส้อาเจียน ปวดหลังกินอาหารมัน อาจมีดีซาน
โรคตับอักเสบ
ปวดรุนแรงใต้ลิ้นปี่ร้าวไปที่หลัง คลื่นไส้อาเจียน ช็อค
โรคกระเพาะอาหาร
อาการ จุกใต้ลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียน ปวดสัมพันธ์กับมื้ออาหาร
2.กลุ่มอาการท้องเดิน/ท้องผูก Diarrhea/Constipation
ท้องผูก (Constipation)
ลักษณะการถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3วัน/สัปดาห์ อุจจาระมี ลักษณะแข็ง ถ่ายลำบาก ต้องเบ่งมากหรือถ่ายไม่สุด เหมือนมีอะไรมา ขวาง ปิดกลั้นทวารอยู่
อาการท้องเดิน (Diarrhea)
ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระมากกว่า 3 ครั้ง/ วัน หรือมีการถ่ายเป็นเลือดมากกว่า 1 ครั้ง จำแนกได้เป็น 2 ประเภท
ท้องเดินเฉียบพลัน มีอาการท้องเสียระยะเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์
ท้องเดินเฉียบพลัน มีอาการท้องเสียระยะเวลามากกว่า 2 สัปดาห์
แนวทางการวินิจฉัยแยกโรค
อาการแสดงในการวินิจฉัย
พยาธิสภาพที่ผิวหนัง
. ข้ออักเสบ
ซีด บวมหรือน้ำหนักตัวลด
ตับโต
ไข้
Fistula หรือ Sinus tract รอบทวารหนัก
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
ลักษณะอุจจาระ
ตำแหน่งที่ปวด
ระยะเวลาที่เป็น
ประวัติโรคท้องเดินในครอบครัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(Plan for diagnosis )
การส่งตรวจเฉพาะเช่น PR
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ Stool Occult Blood, Stool Examination
แผนการรักษา (Plan for treatment)
การได้รับสารยาทางหลอดเลือดดำ
การรักษาตามอาการ/อาการเฉพาะ
ORS
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการปวดท้อง
อาหารเป็นพิษจากเชื้อ clostridium
คลื่นไส้อาเจียน วิงเวียน มีอาการทางระประสาท
ท้องเดินจากการติดเชื้อไวรัส
ปวดท้องอาเจียน ไข้สููง อาจมีอาการไข้หวัด
อาหารเป็นพิษจากเชื้อ salmonelle
ไข้หนาวสั่น ปวดบิด ถ่ายมีมูกเลือด
สำไส้ไวต่อสิ่งเร้า บางครั้งปกติ บางครั้งถ่ายเหลว เครียดกังวล
อาหารเป็นพิษจากเชื้อ streptocoous
คลื่นไส้อาเจียน ปวดบิด ไข้สูงหนาวสั่น ปวดเมื่อย
อหิวาตกโรค อุจจาระสีน้ำซาวข้าว อาเจียน ไม่คลื่นไส้ ช็อค
บิดไม่มีตัว ปวดบิด ถ่ายเป็นน้ำ ปวดเบ่ง ถ่ายเป็นมูกเลือด
บิดมีตัว อุจจาระเหลว มีเนื้อ กลิ่นเหม็นคล้ายกุ้งเน่า
ปวดเบ่ง ไม่มีไข้ ถ่ายกระปริดกระปอย
3.กลุ่มอาการเลือดออกในทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Bleeding/hemorrhage)
แบ่งเป็น
MGIB: เลือดออกลำไส้เล็ก ระหว่าง Ampulla of vater ถึง terminal ileum
LGIB: เลือดออกจากลำไส้ใหญ่ เริ่มจาก Cecum ลงมาถึง Anal canal
UGIB : ตำแหน่งที่ออกอยู่สูงกว่า Ampulla of vater ได้แก่ หลอดอาหาร กระเพราะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้น
อาการและกลไกลการเกิด
ถ่ายอุจจาระเป็นสีแดงสด (Hematochezia)หรือแดงเลือดนก (maroom stool)
อาการแสดงของการเสียเลือด
ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำเหนียว ลักษณะคล้ายยางมะตอย (Melena)
อาเจียนเป็นเลือดแดงสด (Hematemesis)
อาเจียนเป็นเลือดเก่า (Coffee ground emesis)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Plan for diagnosis )
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ Stool Occult Blood, Stool Examination
การส่งตรวจเฉพาะเช่น PR
แผนการรักษา
(Plan for treatment)
การได้รับสารยาทางหลอดเลือดดำ
การรักษาตามอาการ/อาการเฉพาะ
ORS
4.กลุ่มอาการดิสเป็ปเซีย (Dyspepsia)
อาการปวด หรือไม่สบาย(discomfort)ที่บริเวณลิ้นปี่ หรือ epigastrium โดยทั่วไปอาการไม่รุนแรงแต่ก่อให้เกิดความไม่ สบาย สัมพันธ์กับการกินอาหาร
การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค
Helicobacter pylori-associated dyspepsia
Functionaln dyspepsia เป็นสาเหตุที่พบ บ่อยให้ผลวินิจฉัยได้เมื่อส่องกล้อง ร่วมกับ ROME IV
1.มีอาการอย่างน้อย 1 อาการ
อิ่มเร็วกว่าปกติ
ปวดบริเวณลิ้นปี่
อาการจุกแน่นหลังมื้ออาหาร
แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่
2.ไม่พบหลักฐานที่บ่งบอกถึงโรคทาง โครงสร้าง
(Structural disease)
มะเร็งอาหาร (Gastric cancer)
แผลในกระเพาะอาหาร (Gastric ulcer :GU หรือแผลที่ Duodenal ulcer: DU)
ต้องมีอาการนาน6เดือนวินิจฉัยนาน3เดือน
Postprandrial distress syndrome
จุกแน่น อิ่ม เร็วอย่างน้อย3 วัน/สัปดาห์
Epigastric pian syndrome
ปวดแสบร้อนอย่างน้อย 1/สัปดาห์
อื่นๆ เช่น โรคตับอ่อน , ยา
จัดทำโดย:นางสาวณัฐริศา สระทองเทียน เลขที่23 รุ่นที่ 25