Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา, นางสาวน้ำทิพย์ ยอดช้าง 60204091 Sec.7 -…
การประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
บทนํา
สมศ.ทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคณุภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ..2559 - 2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนดเป้าหมายการประเมินโดยมุ่งเน้นประเมินผลลัพธ์ของการประกันคุณภาพของ สถานศึกษา และมีการวิเคราะห์กระบวนการ ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อผลการดำเนินการ เพื่อนำไปสู่การให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาที่มีคุณค่าต่อสถานศึกษา ซึ่งการประเมินคุณภาพ ภายนอกจะไม่มกีารตัดสินผลการประเมินว่า “ได้-ตก” เพื่อให้การรับรองคุณภาพสถานศึกษา
เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา และคุณภาพการศึกษาของประเทศ
หลักการและแนวคิดสําคัญ
2) การประเมินคณุภาพภายนอกต้องมีความท้าทายและช่วยส่งเสริมใหเ้กิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาสู่สากล ให้ เป็นไปตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาของประเทศบรรลุเป้าหมายทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ (Empowerment)
หลักการสำคัญในการพัฒนามาตรฐานและเกณฑก์ารประเมิน คุณภาพภายนอก จึงนำมาสูแ่นวคิดสำคัญ 4 ประการ
เน้นการประเมินเพื่อยืนยันคุณภาพของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดรับผิดชอบในการพัฒาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
ให้ความสำาคัญกับการประเมินที่มุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตในอนาคต และสถานศึกษามีขีดสมรรถนะสูง สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต
ใช้กลไกการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อกระตุ้นและจูงใจให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นและยุทธศาสตร์ของประเทศ
เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้างความโดดเด่นเฉพาะทาง หรือเป็นต้นแบบในการพัฒนาในระดับภมูิภาค ระดับชาติและระดับนานาชาติ
1) การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความเชื่อมโยงกับระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและ หน่วยงานต้นสังกัดที่จะต้องรับผิดชอบให้บรรลุถึงเป้าหมายในการจัดการศึกษาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการ ศึกษาที่เกิดขึ้นAccountability)
นิยามศัพท์
นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ แก้ปัญหา การพัฒนาซึ่งทำใหเ้กิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรืออย่างเห็นได้ชัดเป็นการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่ามีเป้าหมายในเชิงบวก
ผู์ประเมินภายนอก หมายถึง บคุคล หรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจาก สมศ. ให้ทำการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับต่างๆ ตามคณุสมบัติและหลักเกณฑที่ สมศ. กำหนดโดยไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน
กฎกระทรวงฯ หมายถึง กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
เป็นแบบอย่างที่ดี (Best-Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติที่ทำให้สถานศึกษาประสบความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมายเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้น ๆ
คณะกรรมการพัฒนาระบบ หมายถึง คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคณุภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพพ.)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา หมายถึง รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาซึ่งถือว่า เป็นรายงานประเมินตนเองที่ สถานศึกษาเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ความเชื่อถือได้ (Validity / Credibility) หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษา ที่เกิดจากผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลายและมีคุณภาพ ใช้หลักฐานหรือสารสนเทศเชิงประจักษ์ หรือมีข้อมูลจากหลายแหล่งในการตัดสินผลการดำเนินงาน
การรับรองรายงานการประเมิน หมายถึงการรับรองรายงานประเมินคณุภาพภายนอกฉบับสมบูรณ์ที่ผ่านการตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ที่สมศ.กำหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพพ.)
ความเป็นระบบ (Systematic) หมายถึง กระบวนการดำเนินงานด้านการบริหารและการจัดการด้านการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจากการคิดอย่าง เป็นกระบวนการ โดยพิจารณาจากตัวอย่าง
การประเมินคณุภาพภายนอก หมายถึง การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ซึ่งจัดทำโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นของการปฏิบัติตามแผนการดำเนินงานตามวตัถปุระสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้อันเป็นผลที่เกิดต่อผู้เรียนต่อองค์กรต่อวงวิชาการซึ่งผลการดำเนิน งานมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
คณะผู้ประเมิน หมายถึง ผู้ประเมินภายนอกตามจำนวนและองค์ประกอบที่ สมศ.กำหนดที่ได้รับการรับรองให้ทำการประเมินภายนอกสำหรับสถานศึกษา
ความเหมาะสม/เป็นไปได้ (Propriety / Feasibility) หมายถึง การกำหนด เป้าหมาย/เกณฑค์วามสำเร็จของผู้เรียนมีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง ประหยัด และคุ้มค่า
รายงานการประเมิน หมายถึง รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาที่มีองค์ประกอบครบถ้วนเป็นไปตามที่ สมศ. กำหนด
กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่(พ.ศ. 2559 -2563)
ส่วนที่2 การประเมินความโดดเด่นเฉพาะทางเป็นแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกที่ส่งเสริมความเป็นเลิศของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาสามารถเลือกความโดดเด่นเฉพาะทางได้ตาม ศักยภาพและความสมัครใจ
ส่วนที่1 การประเมินคุณภาพมาตรฐานขั้นพื้นฐาน เป็นการประเมินตามพันธกิจและบริบทของสถานศึกษา โดยเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน และประเด็นที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานต้น สังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจของสำนักงานประเมินและรับรองสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์(Vision) ภารกิจประเมินและรับรองสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ารมหาชน) เป็นกลุ่มงานที่เชี่ยวชาญด้านการประเมินคุณภาพภายนอกของ
สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีวัตถุประสงค์พิเศษและศูนย์พัฒนาเด็ก มีระบบประเมินผลการจัดการศึกษาที่เป็นมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ
พันธกิจ (Mission)
บริหารจัดการให้การรับรองรายงานและการรับรองมาตรฐานสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีวัตถุประสงค์พิเศษและศูนย์พัฒนาเด็กตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด
บริหารจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับงานประเมินเพื่อทำเป็นข้อมูล
ชุดข้อมูล องค์ความรใู้หม่ประกอบการปฏิบัติงาน
บริหารจัดการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี วัตถุประสงค์พิเศษ และศูนย์พัฒนาเด็ก
งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน สมศ.รอบสี่(พ.ศ.2559 -2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม
ตัวบ่งชี้ที่ 14 การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 13 การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชมุชน/สังคม
ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ที่ 15 การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ที่ 16 การพัฒนาสนุทรียภาพ
ด้านการบริหารและธรรมา
ภิบาลของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง
ตัวบ่งชี้ที่ 10 การดำเนินงานของผู้อำนวยการ
ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตลักษณ์ผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่ 18 เอกลักษณ์สถานศึกษา
ด้านคุณภาพครู/อาจารย์
ตัวบ่งชี้ที่ 8 ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ
ด้านมาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 19 มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 20 มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
ด้านคุณภาพศิษย์
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนมีทกัษะชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนเป็นคนดี
นางสาวน้ำทิพย์ ยอดช้าง 60204091 Sec.7