Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labor), นางสาวองุ่น กาศสกุล รหัส…
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
(Preterm labor)
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่ปรับแก้ไขไม่ได้
มดลูกยืดขยายมาก ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
การหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ
การช่วยการเจริญพันธุ์
มดลูกผิดปกติหรือมีเนื้องอก
ภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ปากมดลูกบาดเจ็บหรือผิดปกติ เช่น ปิดไม่สนิท คอมดลูกสั้น < 25 มม. (เมื่อ GA < 30 wk)
ครรภ์แรก
เศรษฐานะทางสังคมไม่ดี
ทารกพิการแต่กำเนิดทารกตายในครรภ์
อายุ < 18 ปี หรือ > 35 ปี
เคยคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
ปัจจัยที่มีโอกาสปรับแก้ไขได้
การเสพสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
ไม่ได้ฝากครรภ์
การสูบบุหรี่
ขาดสารอาหาร ภาวะทุพโพชนาการ
ภาวะซีด (anemia)
น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อย
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อระบบสืบพันธุ์
การทำงานหนัก
ความเครียดสูงหรือเรื้อรัง
โรคของเหงือก (periodontal disease)
สาเหตุของการคลอดก่อนกำหนด
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด (preterm PROM)
การคลอดก่อนกำหนดเมื่อมีข้อบ่งชี้ (elective preterm delivery)
ภาวะ severe preeclampsia
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การคลอดก่อนกำหนดที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous preterm delivery)
การคลอดก่อนกำหนดเมื่อมีภาวะแทรกซ้อนฉุกเฉิน (complicated emergency preterm delivery)
รกลอกตัวก่อนกำหนด
สายสะดือพลัดต่ำ
อาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
อาจมีอาการปวดหรือไม่มีอาการปวดร่วมด้วย
ปวดหลังส่วนล่าง
ปวดบั้นเอว
ปวดถ่วงในช่องคลอด
ฝีเย็บและทวารหนัก
ปวดเกร็งจากการบีบตัวของลำไส้
ปวดท้องน้อยคล้ายปวดประจ้าเดือน
ปวดถ่วงท้องน้อยในอุ้งเชิงกราน
ท้องเสีย
ปัสสาวะบ่อย
มีมูกปนเลือดหรือมีน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด
มีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมอ
ผลกระทบ
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากการนอนบนเตียงและถูกจำกัดกิจกรรมเป็นเวลานาน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
น้ำหนักลด
ท้องผูก
วิตกกังวล
หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวน ซึมเศร้า
แบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวันเปลี่ยนแปลง
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
เกิดภาวะเครียดและวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของทารกและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา
ผลต่อทารก
ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก
Intraventricular Hemorrhage (IVH)
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
Respiratory Distress Syndrome (RDS)
Hypoglycemia
Hyperbilirubinemia
Infection
Retinopathy
ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลัง
Cerebral atrophy
Neurodevelopmental delay
Cerebral palsy
Blindness
Bronchopulmonary dysplasia
Retinal detachment
ทารกคลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมออย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้งใน 60 นาที
ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ fetal fibrinogen (fFN) มีค่า >50 ng/mL
ตรวจ estriol ในน้ำลายมารดา (salivary estriol) ให้ผลบวกเมื่อมีค่า > 2.1 ng/mL
วัดความยาวของปากมดลูกด้วยคลืjนเสียงความถี่สูง
การรักษา
การให้ยากระตุ้นการเจริญของปอดทารก
การให้ยาปฏิชีวนะในระยะคลอดกรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการคลอดได้
ประเมินอายุครรภ์และสภาวะของทารกในครรภ์
การประเมินหาสาเหตุที่ชัดเจน
การให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drugs)
3.2 Nifedipine (Adalat)
3.3 Indomethacin
3.1 Terbutaline (Bricanyl)
3.4 Magnesium sulfate
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดก่อนกำหนดและภาวะแทรกซ้อนที อาจเกิดขึ้น
การพยาบาล
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
งดการสวนอุจจาระ และการตรวจทางช่องคลอดหรือทวารหนัก
ดูแลให้นอนพักบนเตียง ให้ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
ดูแลให้ได้รับยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
กรณีให้กลับบ้านได้ ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัว
การพยาบาลเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และทารกปลอดภัยจากผลข้างเคียงของยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
การให้ยาในกลุ่ม Beta adrenergic receptor agonist (Terbutaline (Bricanyl))
การให้ยาในกลุ่ม Calcium channel blockers: Nifedipine (Adalat)
การพยาบาลเพื่อป้องกัน
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์
การให้ความรู้ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ
การให้ความรู้ในระยะก่อนตั้งครรภ์
การให้ความรู้ภาวะเสี่ยงเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติตัวที่เหมาะสม
งดสูบบุหรี่และสารเสพติดทุกชนิด
ลดและหลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ไม่กลั้นปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่กระตุ้นทำให้เกิดการเจ็บครรภ์
เมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ให้งดการมีเพศสัมพันธ์
ผ่อนคลายด้านจิตใจ ลดความเครียด
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจน
หลีกเลี่ยงการใช้ยาระงับความเจ็บปวด
ดูแลให้ได้รับยากลุ่ม glucocorticoid ตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์การช่วยฟื้นคืนชีพและเตรียมทีมกุมารแพทย์
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับแผนการดูแลรักษา และการปฏิบัติตัวในระยะคลอด
ดูแลให้ระยะที่สองของการคลอดสั้นที่สุด
ให้การช่วยเหลือทารกเมื่อแรกเกิดทันที
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ประเมินผลข้างเคียงของยากลุ่ม beta adrenergic receptor agonist และยากลุ่ม glucocortico
นางสาวองุ่น กาศสกุล รหัส 603901044 เลขที่ 43