Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.1 การพัฒนาองค์กร และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา, นายชญาวัต ไกรบำรุง…
บทที่ 3.1 การพัฒนาองค์กร และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
องค์การ, องค์กร
องค์กร
ประธาน มีชีวิต ขับเคลื่อนได้ (organism)
องค์การ
คำนาม, ทางการ, นิติบุคคล
องค์การโทรศัพท์
การรวมตัวของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มาร่วมมือ/ประสาน ทำงานบางอย่างให้สำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
Organization Development : OD
เป็นความพยายามอย่างมีแผนและต่อเนื่อง
เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งระบบ
โดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขององค์การ เพื่อการเพิ่มของประสิทธิภาพ และประสิทธิผลขององค์การ
วัฒนธรรมองค์การ
ความเชื่อ (ฺBelieve)
ค่านิยม (Value)
ลักษณะของค่านิยมที่ดี
เป็นหลักปฏิบัติสำหรับทุกคนในองค์กร
เป็นรากฐานในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
เป็นเครื่องชี้นำทุกคนในการทำงานร่ววมกัน
เป็นหลักการที่องค์กรจะใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่าง
เราจะยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางเสมอ
เราจะให้บริการด้วยใจ
ซื่อสัตย์ โปร่งใส ใส่ใจบริการ มุ่งงงานคุณภาพ
พฤติกรรม (ฺBehavior)
ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
กระบวนการดำเนินงาน ที่มีลักษณะ
ประหยัด(Economy)
เสร็จทันตามกำหนดเวลา (Speed)
และ
มีคุณภาพ (Quality)
ประสิทธิผล (Effective)
ผลสำเร็จของงานที่เป็นไปตามความมุ่งหวังที่กำหนดไว้
จุดมุ่งหมาย
ปรับปรับประสิทธิภาพและประสทธิผลขององคืการให้ดีขึ้นกว่าเดิม
องค์การมีสภาพเป็นอย่างไร
ต้องการให้องค์การเป็นอย่างไร
ต้องการบรรลุสิ่งที่ีให้เป็นไปได้อย่างไร
แนวคิดในการพัฒนาองค์กร
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งบุคคล กลุ่ม และองค์การ
นักบริหารต้องหากระบวนการมาแก้ปัญหา และควบคุมการเปลี่ยนแปลง
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างเสริมความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ
เพื่อให้องค์การปรับตัวได้อย่างรวดเร้วและอยู่รอด
เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานอย่างมีแผน และส่งเสริมการมรส่วนร่วมในวัตถุประสงค์ขององค์การร่วมกัน
ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไข วัฒนธรรมมี่ล้าสมัย ไร้สาระ ขัดความเจริญ
ส่งเสริมการทำงานเน้นหลักการมากกว่าตัวบุคคล
เน้นปริมารงานและความรู้สึกของคน
กระจายการตัดสินใจไปยังผู้ปฏิบัติ
ส่งเสริมสมาชิกตระหนักในความรับผิดชอบต่อตำแหน่งและหน้าที่
ประสานเป้าหมายของบุคคลและองค์การเข้าด้วยกัน
เป้าหมาย
เกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน
สร้างความเข้าใจที่ดี
สร้างคววามสัมพันธ์ที่ดี
องค์การที่ควรได้รับการพัฒนาองค์การ
หลักการและวิธีการบริหารไม่ดี
ขาดการประสานระหว่างหน่วยงาน
อำนาจหน้าที่ขององค์การกำหนดไว้ไม่แน่ชัด
หน่วยงานไม่ทำงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ มีการตแย่งอำนาจ
บรรยากาศการทำงาน แข่งขัน ชิงดีชิงเด่น อิจฉาริษยา
ขาดแรงจูงใจในการทำงาน เฉื่อยชา
ไม่กระตือรือร้น ขาดความคิดริเร่ม
ทำงานมุ่งสนองความต้องการของตนเองมากว่าองค์การ
ภาพพจน์ขององค์การไม่ดีในสายตาคนอื่น
มีปัญหาต่างๆมาก คั่งคางและสะสางไม่ออก
ต้องการเปลี่ยนทัศนคติของคนในองค์การ
ผู้บริหารขาดคณะที่ปรึกษา/ที่ปรึการไม่มีประสิทธิภาพ
ต้องการการวางแผนที่ดีกว่า
ต้องการเปลี่ยนกลวิธีในการบริหาร
ต้องการเปลี่ยนโครงสร้างและนโยบายองค์การ
ต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการพัฒนาองค์การ
การตรวจวินิจฉัยปัญหา
เพื่อให้รู้ว่าวัฒนธรรมที่เป็นอยู่สอดคล้องกับความต้องการ หรือมีความแตกต่างกัน
ต้องวิจารณญาณ ประสบการณ์ เพื่อให้การวินิจฉัยนั้นถูกต้องตามสภาพจริง
ต้องทำหลายครั้ง ตราบเท่าความต้องการพัฒนาองค์การยังอยู่
แนวทางการตรวจวินิจฉัย
กำหนดเป้าหมาย
วิเคราะหืแรงดัน-แรงดึง
การเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดขึ้นกับกลุ่มที่ได้ประโยชน์ และเสียประโยชน์
นำข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ โดยใช้ Mean
ความคิดเห็นของข้าราชการต่อภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชา
การใส่สิ่งสอดแทรก (กลยุทธ์)
การกำหนดสิ่งสอดแทรก ซึ่งคาดว่าจะทำให้ปัญหาที่มีอยู่ในองค์การเปลี่ยนไป ตามแผนที่วางไว้ โดยกำหนดว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร
ถ้าขาดความสามัคคีก็ทำกลุ่มสัมพันธ์
การรวบรวมข้อมูล
รวบรวสภาพปัญหาในองค์การ เพื่อตวจวินิจฉัยปัญหา และกำหนดยุทธศาสตร์
ตัวแปรที่ใช้ศึกษาพฤติกรรมองค์การ ได้แก่ ภาวะผู้นำ แรงจูงใจ การสื่อสาร การติดต่อ ประสานงาน การกำหนดเป้าหมายในองค์การ การควบคุมงาน ผลการปฏิบัติงาน
วิธีการรวบรวมข้อมูล
การสังเกตการณ์ (Direct Observation)
การสัมภาษณ์ (Interview)
การใช้แบบสำรวจ
การประเมินผล
การสัมภาษณ์ ดีเพราะได้สังเกตร่วมด้วย รับรู้ถึงความรู้สึกที่แท้จริง
ใช้แบบสอบถาม ข้อดี สะดวก ผู้ให้ข้อมูลมีโอกาศระบายความรู้สึก
การสำรวจปัญหา การประชุมเพื่อร่วมกันทำรายการปัญหาและกำหนดวิธีแก้
หาข้อมูลจากผลที่เกิดขึเน เช่น รายงานการปฏิบัติ การเข้า-ออกของพนักงาน
การสังเกตการณ์ โดย ฟัง ดู อาจมองเห็นอุปสรรคในการติดต่อสื่อสารการตัดสินใจ
การประมวลข้อมูล ทำอย่างมีระบบและต่อเนื่อง
สรุปการประเมินผลความสำเร็จ คือ กระบวนการสอบทาน ตรวจสอบ และประเมินกระบวนการต่างๆ ในการสร้างวัฒนธรรมองค์การให้สามารถดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสม
การสืบทอดวัฒนธรรมขององค์กร
หารรักาวัฒนธรรมที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงให้ยั้งยืน และดำรงอยู่กับองคืการในระยะยาว
การคัดเลือกบุคลากรใหม่ให้สอดคล่องกับวัฒนธรรมที่สร้างไว้หรือผู้บริหารต้องเป็นตัวอย่างที่ดี และหล่อหลอมให้ป้นวิถีชีวิตในการทำงาน
นายชญาวัต ไกรบำรุง เลขที่ 15 รหัสนักศึกษา 603101015