Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร, นายชญาวัต ไกรบำรุง เลขที่ 15…
บทที่ 2 องค์ประกอบและกระบวนการบริหาร
การบริหารจัดการระบบย่อย 2 ระบบ
ระบบงาน (ทรัพยากรที่ไม่มีชีวิต
ทรัพย์สิน เงินทุน เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์
ระบบคน
มนุษย์หรือทรัพยากรบุคคล
ลักษณะทั่วไปของการบริหาร
การบริหาร
กลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่วางแผนการจัดการองค์กร จัดคนเข้าทำงาน สั่งการและการควบคุมดำเนินไปตามวัตถุประสงค์
องค์ประกอบขององค์กร
มีเป้าหมาย (Goal)
วัตถุประสงค์ในการบริหารองค์กร
ผู้บริหารจะต้องมีการกำหนดทิศทาง หรือวัตถุประสงค์ของการทำงานไว้ชัดเจน
มีปัจจัยในการบริหาร (Factor of Management)
คน หรือบุคลากร (Man)
การบริหารกำลังคน จะใช้คนอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพ คนเป็นปัจจัยนำเข้า
บุคลากรที่ปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นคนที่มีความรู้ ความสามรถ คุณธรรม จริยธรรม และมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
วัสดุอุปกรณ์ (Materials)
ผู้บริหารต้องจัดหาให้พอกับความต้องการ และการพยาบาลเกิดคุณภาพที่แท้จริง การบริหารในการดำเนินงาน ว่าจะทำอย่างไรให้สิ้นเปลืองน้อยที่สุด
เงิน หรือ งบประมาณ (Money)
จะจัดสรรเงินอย่างไรให้ใช้จ่ายต้นน้อยทุนน้อยที่สุดและให้เกิดประสิทธิภาพ แบะประสิทธิผล
งบประมาณในการบริหารจำการและการดำเนินการ
จ่ายประจำ
เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าใช้สอย ค่าสาธารณูปโภค
ใช้ในการบำบัดรักษาคนไข้
ยา และเวชภัณฑ์ที่มิใฃ่ยา ค่าอุปกรณการแพทย์ และอื่นๆ
ต้องวางแผนการใช้เงินเหมาะสมคุ้มค่า
เทคนิค (Method)
การจัดการหรือเทคนิคในการบริหารแบบใดที่ทำให้การบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เครื่องมือ (Machine)
เครื่องจักรประเภทใด ขนดใดก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารงาน
อื่นๆ
ลักษณะของการบริหาร (Management Style)
การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และทั้งศิลป์ที่ผู้บริหารจะต้องนำมาประยุกต์ใช้นำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารให้เกิดประสิทธิภาพสุดต่อองค์กร
"ที่ใดมีผู้นำที่ดี ที่นั้นก็จะมีความสำเร็จ"
กระบวนการการจัดการ (Management Process)
คือ หน้าที่ความรับผิดชอบของนักบริหาร
เฮนรี่ ฟาโย (Henri Fayol)
เขียนหนังสือ หลักการบริหารแบบ POCCC
P-Planning การวางแผน
O-Organizing การจัดการองค์กร
C-Commanding การบังคับบัญชา
C-Co-ordinating การประสานงาน
C-Controlling การควบคุม
ลูเธอร์ กูลลิค (Luther Gulick)
POSDCoRB
P-Planning การวางแผน
การวางแผนเค้าโครงก่อนลงมือปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
O-Organizing การจัดการองค์การ
จัดโครงสร้าง แบ่งงาน
D-Directing การสั่งการ
Co-Co-ordination การประสานงาน
การติดต่อสื่อสารกันเพื่อให้งานดำเนินไปได้ด้วยดี
S-Staffing การจัดคนเข้างาน
จัดคนให้เข้ากับงานเพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
R-Reporting การรายงาน
แจ้งใ้ห้ผู้บังครับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
B-Budgeting การจัดทำงบประมาณ
CHESTER BARNARD
เน้นความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ ต้องสร้างความพึงพอใจแก่บุคคลในการทำงาน
ดูแลติดต่อประสานงานภายในองค์กร
รักษาสมาชิกภายในและชักจูงสมาชิกใหม่
กำหนดเป้าหมายขององค์กรและตีความเพื่อแสดงให้องค์กรได้รับรู้
ใช้ศิลปะเพื่อให้เิกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
ทำงานด้วยความรับผิดชอบ โดยใช้หลักของศิลธรรม
ฮาลอร์ดดี คูลย์ (Haroled D.Knootz)
การวางแผน (Planning)
ปะเภทของแผน
แผนระยะสั้น 1-3 ปี
แผนการปฏิบัติงานประจำวัน
แผนระยะกลาง 5-10 ปี
แผนพัฒนาบุคลากรในระยะ 5 ปี
แผนระยะยาวใช้เวลาต้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
แผนฉุกเฉิน
โควิด-19
แผนการโดยการจำแนกลำดับขั้นของการจัดการ
แผนกลยุทธ์ (Strategic planning)
แผนโครงการ (Project planning)
แผนการปฏิบัติการ (Operational planning)
.ใช้ความรู้ในการตั้งเป้าหมายก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้งานประสบความสำเร็จตามที่ต้องการ
ความสำคัญในการวางแผน
ช่วยประหยัด ทรัพยากร เวลาและแรงงาน
ช่วยปฏิบัติงานได้เร็ว ลดความผิดพลาดได้
คาดการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง
ช่วยให้การการมอบหมาย การประสานงาน และควบคุมการประเมินผล เป็นไปอย่างเหมาะสม
ช่วยในการพัฒนาปรับปรุง
ให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของงาน
ลดการทำงานซ้ำซ้อน
กระบวนการวางแผน (planning process)
กำหนดวัตถุประสงค์ (Setting the objective)
รวบรวมข้อมูล (Collecting data)
วางแผน (Planning)
ดำเนินงานตามแผน (Execution of the plan)
ติดตามและปรับปรุง (Monitoring of the plan)
การจัดการองค์การ
คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันดำเนินการหรือประกอบกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่ต้ั้งใว้
กระบวนการจัดองค์การ
จัดวิเคราะ์งานเพื่อกำหนดโครงสร้างองค์การ
จัดทำแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจำหน่วยงาน
ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
หมอบหมายการทำงาน
จัดแบ่งประเภทผู็รับบรีิการออกเป็นประเภทต่างๆ
มอบหมายงานแก่ผู้ัใต้บังคับบัญชา
องค์กรในโรงพยาบาล
องค์การการแพทย์ (Medical Department)
องค์การพยาบาล (Nursing Department)
องค์การบริหารงานทั่วไป
องค์การอื่นๆ
Laboratory, Radiography, Physiotherary
การอำนวยการ (Directing)
การนำชี้แนะ จูงใจ ให้ผู้ร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ
รูปแบบการสั่งการ
แบบอาสาสมัคร (Volunteer)
แบบเสนอแนะ (Suggest)
แบบขอร้อง (ReQuest)
แบบออกคำสั่งโดยตรง (Demand or Direct)
กระบวนการอำนวยการ
จัดให้มีการประสานงานในสายงานการปกครองบังคับบัญชา
จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง
มอบอำนาจหน้าที่กระจายหรือรวมอำนาจการบริหาร
การพิจารณาใช้คนให้เหมาะกับงาน
การประสานงาน (Co-ordinating)
วิธีประสานงาน
การประสานงานภายในองค์การ
ทีมการพยาบาล
ทีมพยาบาล
การประสานงานระหว่างองค์การ
ปัญหาและอุปสรรค
เพิกเฉย และหลงลืมไม่ได้ความ
ให้ข้อมูลล่าช้า เกินไป
รับ-ส่งข้อมูล ผิดพลาด
ลักษณะการประสานงาน
การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ
การประสานงานอย่างเป็นทางการ
ปัจจัยที่ช่วยให้เิกิดการประสานงานที่ดี
เต็มใจที่จะติดต่อกับผู็อื่นก่อน
ฟังผู้อื่นพูดให้มาก
หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง
การควบคุม (Controlling)
ประโยชน์การควบคุม (controlling)
ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความความเข้าใจในการทำงาน ทำงานมีประสิทธิภาพ ประสบผลสำเร็จตามแผนงาน ค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จริง ประโยชน์การควบคุม
ปัญหาในการควบคุม
จัดระบบงานไม่ดี
หัวหน้างานไม่เห็นความสำคัญ
ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงาน
ไม่มีหลักเกณฑ์และมาตรฐานการควบคุม
ลักษณะการควบคุม
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายนอก
การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน หรือแนวทางที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
นายชญาวัต ไกรบำรุง เลขที่ 15 รหัสนักศึกษา 603101015